Umbilical cath

Umbilical catheter

การใส่สายสวนทางสะดือ

UVC

ความยาวสาย

    • Shoulder-to-umbilicus distance: appropriate distance according to the graph.

  • Remember

ตำแหน่ง UVC

In inferior venacava, T10 level by x-ray

ถ้าไม่ได้ ให้อยู่ที่ 2 cm below skin

Catheter size

<1500g

>1500-3500g

3.5F

5F

UAC

ความยาวสาย UAC

UAC distance (cm) = (birthweight (kg) x3) + 9.

Catheter Size

<1200g

>1200

3.5F

5F

Never use an 8F UAC

ตำแหน่ง

The high position is at the level of thoracic vertebral bodies T6-T9

The low position is at the level of lumbar vertebral bodies L3-L4.

There is debate over whether one position is better. The Cochrane Systematic Review 4 suggests that ahigh position is preferred as it is associated with fewer obvious vascular complications, a probable reduction in the incidence of aortic thrombus, and longer catheter life.

Catheter insertion distance table

การใส่สายสวนทางสะดือ Umbilical vien

Indication (ข้อบ่งชี้)

1. สำหรับวัด central venous pressure (CVP)

2. สำหรับการทำหัตถการ Total และ Partial exchange transfusion

3. สำหรับการให้สารน้ำและยาในกรณีฉุกเฉินหรือเร่งด่วน

4. สำหรับให้สารน้ำที่มีความเข้มข้นสูง (hypertonic solution) หรือให้ยากลุ่ม vasopressors

Contra-indication (ข้อห้าม)

มีการอักเสบหรือติดเชื้อบริเวณสะดือหรือภายในช่องท้อง

Materials (วัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็น)

1. สาย umbilical catheter ขนาด 5F (สำหรับทารกน้ำหนักต่ำกว่า 3.5 กก) หรือขนาด 8F (สำหรับทารกน้ำหนักมากกว่า 3.5)

2. อุปกรณ์สำหรับตัดและเย็บผูกสายสะดือ ได้แก่ เข็มโค้ง, ไหมดำ No.3, needle holder,กรรไกรตัดไหม, iris forceps,hemostat, ใบมีดพร้อมด้าม

3. สายวัดความยาว (measure tape)

4. 3-way stopclock 2 อัน

5. 10-ml syringe และ heparinized normal saline solution

6. สำลีและผ้าก๊อซที่ผ่านการอบฆ่าเชื้อ และน้ำยาฆ่าเชื้อ povidone-iodine

Procedure (วิธีการทำ)

1. วางทารกใต้ radiant warmer จัดทารกให้อยู่ในท่านอนหงาย ตรึงทารกและขาทั้งสองข้างให้อยู่คงที่

2. คำนวณหรือประมาณความลึกของการใส่สายสวนสะดือทาง umbilical vein ทั้งนี้ขึ้นกับวัตถุประสงค์ของการใส่, ดังนี้

2.1 ใส่เพื่อวัด CVP ทำโดยวัดระยะทาง (หน่วยเป็นเซนติเมตร) จากหัวไหล่ด้านใดด้านหนึ่งไปยังสะดือ (shoulder-umbilicus length) นำค่าที่ได้ไป plot กราฟมาตรฐานสำหรับการคำนวณหาระยะความลึก ของการใส่ umbilical vein catheter และบวกด้วย 0.5-1 ซม. (ความยาวของ umbilical stump) ค่าที่ ได้จะเป็นความลึกของการใส่สายสวนสะดือทาง umbilical vein

2.2 สำหรับการทำ partial หรือ total exchange transfusion รือเพื่อให้สารน้ำ หรือยาในกรณีฉุกเฉิน หรือเร่งด่วน ให้ใส่ลึกเพียงผ่านผนังหน้าท้องของทารกและสามารถดูดเลือดได้คล่องไม่ติดขัด ก็เพียงพอ แล้ว ซึ่งโดยทั่วไป มักใส่ลึกไม่เกิน 2-5 ซม. ขึ้นกับน้ำหนักตัวเด็กทารก

3. แพทย์ผู้ทำการหัตถการทำการใส่หมวกคลุม, ปิดปากและจมูกด้วย mask, ฟอกและขัดมือด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ, สวมเสื้อคลุม และถุงมือปราศจากเชื้อ

4. ทำความสะอาดผิวหนังบริเวณรอบสะดือและสายสะดือด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ Povidone-Iodine

5. ตัดสายสะดือให้ผิวหน้าตัดเรียบและเหลือความยาวประมาณ 1 ซม. จากฐานของสายสะดือด้วยใบมีด

6. เย็บคล้องปลายตัดของสายสะดือด้วยไหมดำแบบหูรูด (purse string suture)

7. เตรียมสาย umbilical catheter ขนาดเหมาะกับทารกโดยต่อด้านปลายเปิดเข้ากับ 3-way stopclock และหล่อสาย catheter ให้เต็มด้วย heparinized saliue solution

8. ใช้ hemostat จับปลายสายสะดือให้อยู่ในลักษณะตั้งฉากกับผนังหน้าท้องและตรวจหา umbilical vein ซึ่งจะมี 1 เส้น มักอยู่ทางขอบนอกของสายสะดือ ลักษณะผนังบางกว่าและขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางใหญ่กว่า umbilical artery ที่มี 2 เส้น

9. ทำการ remove เศษก้อนเลือดที่แข็งตัวและอุดปากรูของเส้นเลือดออกสอดใส่ ถ่างขยายรูของ umbilical vein ด้วย iris forceps และสอดใส่สาย umbilical catheter อย่างนุ่มนวลให้ปลายสาย catheter พุ่งไปทางศรีษะของทารก โดยให้มีความลึก ตามวัตถุประสงค์ของการใส่สวนดังกล่าวในข้อ 2

10. ต่อปลายสายอีกด้านหนึ่งของ umbilical catheter ที่มี 3- way stopclock ข้ากับสาย และขวดน้ำสารละลาย ที่เตรียมไว้ ทำการไล่ฟองอากาศที่ค้างอยู่ในสายให้หมดก่อนเริ่มให้สารน้ำเข้าสู่ร่างกาย

11. ผูกรูดไหมที่เย็บคล้องสายสะดือไว้ให้แน่นเพื่อป้องกันเลือดไหลซึมจากสายสะดือและป้องกันการเลื่อนหลุดของสาย umbilical catheter

12. ทำการยึดสาย umbilical catheter ให้อยู่คงที่โดยใช้เทปกาวยึดระหว่างสาย catheter และผนังหน้าท้อง

13. ถ่าย x-ray เพื่อดูตำแหน่งปลายสาย umbilical catheter ในกรณีที่ใส่เพื่อวัด CVP โดยตำแหน่งที่เหมาะสม คือปลายสวน catheter ควรจะอยู่เหนือกระบังลมประมาณ 0.5-1.0 เซนติเมตร

14. ห้ามทำการดันสาย umbilical catheter ให้ลึกเข้าไปกว่าเดิมอีกหลังจากที่ได้ทำการผูกยึดสาย umbilical catheter ไว้เป็นที่เรียบร้อยแล้ว

Complications (ภาวะแทรกซ้อน)

1. การติดเชื้อ เนื่องจากผู้ปฏิบัติขาดความระมัดระวังในด้านเทคนิคการทำหัตถการแบบปลอดเชื้อ

2. Thrombolic or embolic phenomenon

3. Hepatic necrosis เนื่องจากใส่สาย umbilical catheter เข้าไปใน portal system และ อาจทำให้เกิด portal hypertension ในภายหลังได้

4. หัวใจเต้นผิดจังหวะ เนื่องจากใส่สาย umbilical catheter ลึกเกินไปถึงหัวใจ

5. necrotizing enterocolitis โดยเฉพาะถ้าคาสาย umbilical venous catheter ไว้นานเกิน 24 ชม.

ที่มา :http://cai.md.chula.ac.th/lesson/umbilical/umbi.html

Reference:

Guildline for UAV UVC Newborn Services Clinical Guideline Reviewed by Carl Kuschel Updated May 2001 มีรายละเอียดดีมาก

http://www.adhb.govt.nz/newborn/Guidelines/VascularCatheters/UmbilicalCatheters.htm Intravascular Catheters Umbilical Catheterisation Step demonstration

http://www.adhb.govt.nz/newborn/Guidelines/VascularCatheters/IVC_UmbilicalCatheters.htm

See also radiology images of UAC and UVC placement

Guildline for UAV UVC Health centre of British Columbia

Umbilical venous catheter insertion and maintenance, table and graft of catheter position

http://www.cw.bc.ca/NewbornCare/pdf-clinical/CPG_UVC.pdf

ขั้นตอนการทำเป็นข้อและรูปประกอบตอนท้าย

Iowa Neonatology Fellows University of iowa: Insertion of Umbilical Vessel Catheters

Peer Review Status: Internally Peer Reviewed

http://www.uihealthcare.com/depts/med/pediatrics/iowaneonatologyhandbook/procedures/insertionumbilicalvessel.html

ดูตำแหน่งของสาย Umbilical catheter Radiography

Umbilical arterial and umbilical venous catheters. Cross-table lateral radiograph of the abdomen shows an umbilical arterial catheter (arrow) and umbilical venous catheter (arrowhead) in a neonate. Ideally, anumbilical venous catheter should be positioned in the right atrium (just above the diaphragm) and anumbilical arterial catheter between T6 and T10 (high position) or between L3 and L5 (low position)(9).

http://radiographics.rsnajnls.org/cgi/content/full/25/4/1119 Journal see Number 27

http://radiographics.rsnajnls.org/cgi/content/full/25/4/1119/F27 Picture this Number 27

เครื่องคำนวณตำแหน่ง ขนาด umbilical catheter

Endotracheal Tube & Umbilical Catheter Calculator in newborn เครื่องคำนวณดีมาก

http://nicutools.org/default.html?./MediCalcs/ETTubes.php3

Peer reviews

Umbilical artery catheters in the newborn: effects of position of the catheter tip

http://www.nichd.nih.gov/COCHRANE/Barring1/Barrington.htm

Picture

This stock medical exhibit displays the correct and incorrect placement of an umbilical catheter in a newborn. It consists of three images.

Correct vs. Incorrect Placement of **Umbilical Catheter** in Newborn **...**

http://catalog.nucleusinc.com/generateexhibit.php?ID=141

Picture

Clipart of Introduction of **umbilical** artery **catheter**

Picture

Figures for Nurses (ภาพสวย)

Guide to Early Detection of Umbilical Arterial Catheter Complications in Infants

Guide to Detection of **Umbilical** Arterial **Catheter** Complications in **...** เสีย

Picture

Illastation of umbilical tip position

http://catalog.nucleusinc.com/generateexhibit.php?ID=141

Umbilical Artery Catheter in Family practise notbook แบบย่อๆhttp://www.fpnotebook.com/ER89.htm Journal Fatal air embolism through an **umbilical** venous **catheter**www.springerlink.com/index/W6775784P22224N7.pdf หน้าที่คล้ายกัน JournalBiliary venous fistula from **umbilical catheter** placementwww.springerlink.com/index/MHGRLQQGLB9XMMQA.pdf - หน้าที่คล้ายกัน

Case report

Internet journal of surgery One of the World's Largest Medical Online Publishers home

Preoperative Placement Of Umbilical Artery Catheter For Use During Umbilical Sparing Gastroschisis Repair

http://www.ispub.com/ostia/index.php?xmlFilePath=journals/ijs/vol7n2/umbilical.xml