Febrile convulsion

Febrile convulsion

Quick treatment

First aids management ABC airway, oxygen.......then

Valium(diazepam) (i.v., rectal suppos.) 1 amp = 2cc = 10 mg, tab 2,5mg

Sig 0.3 mg/kg iv stat (ped 10 kg = 3 mg)

Sig 0.5 mg/kg rectal suppos. (ped 10kg=5mg)

Or Midazolam 0.3-0.5 mg/kg/dose im therapeutic level in 3 min.

Tepid sponging

Pacetamal 15mg/kg q hr, ± NSAIDS

Febrile convulsion

Definitions:

1.มีไข้ ชัก ในเด็กอายุ 3 เดือน ถึง 5 ปี

2.ไม่มีโรคทางสมอง หรือ metabolic derangement ที่ทำให้เกิดอาการชัก

3.ไม่เคยมีอาการชักโดยไม่มีไข้มาก่อน

Prophylaxis

Prophylaxis during febrile episodes : 2 approaches

- ยาลดไข้ และ rectal diazepam suppos prn q 8 hr. ขณะเริ่มมีไข้

- ยาลดไข้ q 6 hr และ diazepam มีไข้ prn q 8 hr

Type of FC

Simple: short, < 15 minutes, generalised fits that do not occur more than once in a febrile episode.

Complex: prolonged > 15 mins unilateral or recur within a single febrile episode are classified as complex.

One or more of the following:

  • Duration more than 15 minutes

  • Recurrence within 24 hours

  • Focal features.

Prognosis

First febrile fit : normal neurological,motor,intellectual and behaviour outcome

โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดซ้ำ ของ febrile convulsion

1.Onset เร็ว คือ เป็นก่อนอายุ 15 เดือน

2.ประวัติโรคลมชักของคนในครอบครัวที่ไกล้ชิด

3.ประวัติโรคไข้ชักของคนในครอบครัวที่ไกล้ชิด

4.ไข้ต่ำขณะชัก คือ น้อยกว่า 40C ในการชักครั้งแรก

5.ระยะเวลาสั้น คือ ตั้งแต่เริ่มมีไข้จนมีอาการชัก

โอกาสเสี่ยงสูงที่จะเกิดโรคลมชักตามมา หลังจากเป็น febrile convulsion

1) มีอาการทาง neuro ผิดปกติเกิดก่อนมีการไข้ชักครั้งแรก

2) ประวัติครอบครัวเป็นอาการชักไม่ทราบเหตุ

3) Complex febrile fits

4) ชักซ้ำมากกว่า > 3 ครั้ง(simple febrile fits)

ข้อบ่งชี้การนอนโรงพยาบาล

ไม่จำเป็นต้อง admit ทุกราย ควร admit เฉพาะที่มีข้อบ่งชี้ดังนี้

1) สงสัยมี intracranial pathology โดยเฉพาะการติดเชื้อ

2) กล้วเรื่องการชักซ้ำ

3) เพืิ่อการตรวจหาสาเหตุและรักษาสาเหตุของไข้ที่สำคัญเช่น meningitis หรือ encephalitis.

4) ผู้ปกครองกังวลมาก หรือ บ้านอยู่ไกลจากร.พ.

5) เด็กอายุน้อยกว่า 18 เดือน

Need for further investigations

The need for blood counts, lumbar puncture, urinalysis, chest x-ray, blood culture etc., will depend on clinical assessment of the individual case. Measurement of serum calcium and electrolytes are rarely necessary in children with febrile fits.

Lumbar puncture

The RCP/BPA Joint Working Group 46 recommended a lumbar puncture if:

• There are clinical signs of meningism

• After a complex convulsion

• If the child is unduly drowsy or irritable or systemically ill

• If the child is less than 18 months old (probably) and almost certainly if the child is aged less than 12 months.

Indication for LP ของสมาคมกุมาร

1.อายุน้อยกว่า 12 เดือน ตรวจทุกราย

2.เมื่อมีอาการอย่างไดอย่างหนึ่งดังนี้

-conscious เปลี่ยนเช่น ซึม อาเจียน ไม่ดูดนม งอแงไม่เล่นปกติ

-ชักซ้ำหรือนานกว่า 5 นาที

-ตรวจร่างกายผิดปกติ เช่น bulging anterior forntanel เป็นต้น

3.สงสัยมีการติดเชื้อในสมอง

EEG : This also applies for those with multiple recurrences and features of complex febrile fits.

การป้องกัน

ให้เฉพาะขณะที่มีไข้ ไม่จำเป็นต้องให้ต่อเนื่องยกเว้น complex seizure

ให้เป็น intermittent prophylaxis สำหรับกรณีที่พ่อแม่กังวล

Drug : Diazepam tab 2 mg,5 mg

sig 0.3 mg/kg oral q 8 hr กิน 48 ชั่วโมงแรกที่มีไข้ เมื่อ rectal temp.>38.5c

ped.10kg = 3mg oral q 8 hr

Prognosis

1.ไม่ทำให้เกิดสมองพิการ ,IQ, cognitive function ปกติ

2.โอกาสชักซ้ำผู้ที่เป็น 1-2 ครั้ง พบ 35-50%

มี 10% ที่เกิด febrile seizure เกิน 3 ครั้ง

3.โรคลมชักใน febrile convulsion พบ 2.4% (ในประชากรปกติพบ 1%)

Risk of recurrent

1.ไข้ชักครั้งแรกในอายุน้อยกว่า 1 ปี พบ ไข้ชักซ้ำ 50%

2.ไข้ชักครั้งแรกในอายุมากกว่า 1 ปี พบ ไข้ชักซ้ำ 30% แต่จะเพิ่มเป็น 50% หลังชักครั้งที่ 2

Ref.

http://www.thaipediatrics.org/attchfile/CPG03-06-56.pdf

http://www.ped.si.mahidol.ac.th/HA/CPG/6feverandseizure.pdf

Pediatrics 2008;121;1281-1286