ทำเนียบเจ้าอาวาสวัดคุ้งตะเภา

ทำเนียบเจ้าอาวาสวัดคุ้งตะเภา

รายนามเจ้าอาวาสวัดคุ้งตะเภา (เท่าที่มีหลักฐานสืบค้นได้)

แม้วัดคุ้งตะเภาจะมีอายุมากกว่าสองร้อยปี แต่เนื่องจากไม่ปรากฏว่ามีการบันทึกหลักฐานลำดับเจ้าอาวาสไว้ ทำให้ไม่สามารถพบรายชื่อลำดับเจ้าอาวาสวัดคุ้งตะเภาตั้งแต่แรกสร้างวัด อย่างไรก็ดีในปี พ.ศ. 2535 มีการจัดทำบัญชีลำดับเจ้าอาวาสวัดคุ้งตะเภา โดยอาศัยคำบอกเล่าจากคนรุ่นเก่าในหมู่บ้านที่ยังจำได้ สามารถสืบได้ 11 ลำดับด้วยกัน โดยไม่สามารถสันนิษฐานช่วงระยะเวลาดำรงตำแหน่งของเจ้าอาวาสแต่ละรูปได้ชัดเจน

ลำดับเจ้าอาวาสวัดคุ้งตะเภาเท่าที่สามารถสืบค้นได้มีดังต่อไปนี้ (ประมาณ พ.ศ. 2450 ถึง ปัจจุบัน)

ลำดับเจ้าอาวาสวัดคุ้งตะเภา เท่าที่มีหลักฐานสืบค้นได้*

รายนามเจ้าอาวาสวัดคุ้งตะเภา

วาระการดำรงตำแหน่ง

พ.ศ. 2313 - (ไม่ทราบปี)

ก่อน พ.ศ. 2431 - ก่อน พ.ศ. 2442

ร.ศ.118 -(ไม่ทราบปี)

ไม่ปรากฏหลักฐาน

ไม่ปรากฏหลักฐาน

ไม่ปรากฏหลักฐาน

ไม่ปรากฏหลักฐาน

ไม่ปรากฏหลักฐาน

ไม่ปรากฏหลักฐาน

ไม่ปรากฏหลักฐาน

พ.ศ. 2500 - ไม่ปรากฏหลักฐาน

ก่อน พ.ศ. 2509 - ไม่ทราบ

ไม่ปรากฏหลักฐาน

ไม่ปรากฏหลักฐาน - พ.ศ. 2530

-พระพิมลธรรม (พระราชาคณะในสมัยกรุงธนบุรี) เจ้าคณะใหญ่เมืองฝาง

-พระครูสวางคมุนี (เจ้าอธิการจัน) เจ้าคณะใหญ่เมืองฝาง[47]

-พระอธิการรอด (สมัยรัชกาลที่ 5)

-พระอธิการโต๊ะ เลี้ยงประเสริฐ

-พระอธิการตี๋

-พระอธิการเจิม

-พระอธิการเพิ่ม

-พระอธิการกลอง

-พระสมุห์ปลาย

-พระปลัดป่วน

-พระอธิการสังวาล

-พระอธิการท้วน โฆสโก

-พระอธิการเมี้ยน ขนฺติพโล (สิทธิชัย)

-พระอธิการผลิศร์ ญาณธมฺโม

รักษาการเจ้าอาวาสวัดคุ้งตะเภา

รายนามผู้รักษาการเจ้าอาวาสวัดคุ้งตะเภา

วาระการดำรงตำแหน่ง

พ.ศ. 2530 - พ.ศ. 2531

พ.ศ. 2531 - พ.ศ. 2532

อ้างอิง

[42]

[42]

พระครูไพโรจน์ธรรมสาร (อ็อด สคารโว)

พระครูสุจิตพัฒนพิธาน (สมพงษ์ สมจิตฺโต)

รายนามเจ้าอาวาสวัดคุ้งตะเภา

รายนามเจ้าอาวาสวัดคุ้งตะเภา

อ้างอิง

[42]

[52][2]

พระครูประดิษฐ์ธรรมธัช (ธง ฐิตธมฺโม) (อิ่มชม)

พระสมุห์สมชาย จีรปุญฺโญ (แสงสิน)

*หมายเหตุ: พระที่รักษาวัดก่อนหน้านั้นไม่อาจทราบชื่อได้

ทำเนียบพระอุปัชฌาย์วัดคุ้งตะเภา

สมัยธนบุรี - รัตนโกสินทร์ (เท่าที่มีหลักฐานสืบค้นได้)

นับแต่องค์ปฐมเจ้าอาวาสวัดคุ้งตะเภา ตามความในพระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) คือ พระพิมลธรรม (พระราชาคณะในสมัยกรุงธนบุรี) ที่ได้รับอาราธนาจากสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชโดยทางราชการ ให้ขึ้นมาอยู่ประจำสั่งสอนพระธรรมวินัยในเมืองสวางคบุรี ในปี พ.ศ. 2313 พร้อมกับการสถาปนาวัดคุ้งตะเภาขึ้นในปีนั้น ในสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์ตอนต้นนับตั้งแต่นั้น ก่อนที่จะมีกฎหมายระบุการแต่งตั้งผู้ทำหน้าที่พระอุปัชฌาย์โดยอนุมัติจากทางราชการไว้ในสมัยรัชกาลที่ 5-6 วัดคุ้งตะเภาคงมีพระอุปัชฌาย์ไปตามพระธรรมวินัย อย่างไรก็ดีการกำหนดให้มีการแต่งตั้งพระอุปัชฌาย์โดยฝ่ายบ้านเมืองพึ่งเริ่มมีในสมัยรัชกาลที่ 5 ที่ทรงมีประกาศเรื่องผู้จะบวชเป็นพระภิกษุให้มีประกันและการตั้งอุปัชฌาย์ จุลศักราช 1237 (พ.ศ. 2419) และพระราชบัญญัติลักษณะปกครองคณะสงฆ์ ร.ศ.121 (พ.ศ. 2445) ประกอบกับประกาศกระทรวงธรรมการ เรื่อง ตั้งอุปัชฌายะ พ.ศ. 2456 ในสมัยรัชกาลที่ 6 วัดคุ้งตะเภาก็ไม่เคยมีพระภิกษุรูปใดได้รับการแต่งตั้งเป็นพระอุปัชฌาย์โดยถูกต้องจากทางราชการอีกเลย ดังนั้นในส่วนนี้จึงเป็นการแสดงลำดับพระอุปัชฌาย์ที่ได้รับแต่งตั้งโดยมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์และตามความในข้อ 9 แห่ง กฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ 17 ( พ.ศ. 2536 ) ว่าด้วยการแต่งตั้งถอดถอนพระอุปัชฌาย์ ซึ่งมีเพียงจำนวน 3 รูป ดังต่อไปนี้

ลำดับพระอุปัชฌาย์วัดคุ้งตะเภา เท่าที่สามารถสืบค้นได้มีดังต่อไปนี้ (พ.ศ. 2313 ถึง ปัจจุบัน)

ลำดับพระอุปัชฌาย์แห่งวัดคุ้งตะเภา ที่ได้รับการแต่งตั้ง*

รายนามพระอุปัชฌาย์แห่งวัดคุ้งตะเภา

ได้รับแต่งตั้งเมื่อ

พ.ศ. 2313

พ.ศ. 2431

28 มกราคม พ.ศ. 2561

อ้างอิง

[53][54]

[56]

[57]

-พระพิมลธรรม (พระราชาคณะในสมัยกรุงธนบุรี)

-พระครูสวางคมุนี (เจ้าอธิการจัน) เจ้าคณะใหญ่เมืองฝาง[55]