6E 3 Workplace Violence

E 3: Workplace Violence

Goal

ป้องกันความรุนแรงในห้องฉุกเฉิน (Prevent violence in emergency room)

Why

ความรุนแรงในห้องฉุกเฉินเป็นปัญหาที่ส าคัญ จากการศึกษา Emergency Department

Violence Study ในประเทศสหรัฐอเมริกา พบว่า พยาบาลห้องฉุกเฉิน 54.5% ประสบกับ

เหตุการณ์ความรุนแรงในที่ท างาน (Workplace Violence) และ 95.5% ของพยาบาลเชื่อว่า

ความรุนแรงในที่ท างานมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 26.6% ของพยาบาลไม่มีความสุขและมีความคิดจะ

ลาออกหรือย้ายงานเนื่องจากความรุนแรงในที่ท างาน 38.5% และ 76.9% ของเหตุการณ์ความ

รุนแรงเกิดที่บริเวณจุดคัดแยก(Triage) และ เตียงผู้ป่วย (ตามล าดับ)

ความรุนแรงในห้องฉุกเฉินมี 3 ประเภทคือ การถูกท าร้ายด้วยวาจา (Verbal threat)

การถูกท าร้ายร่างกาย (Physical assault) และการสะกดรอยตาม (Stalking)1

Process

Emergency Nurse Association, Occupational Safety and Health Administration (OSHA)

และ Joint Commission แนะน ามาตรการและแนวทางในการป้องกันความรุนแรงในห้องฉุกเฉิน

ดังนี้

1. ระยะป้องกัน

 ผู้บริหารต้องก าหนดนโยบายความปลอดภัยบุคลากรและการป้องกันความรุนแรงใน

ห้องฉุกเฉิน

 จัดท านโยบาย ไม่ยอมรับความรุนแรง (Zero tolerance policy) ประชาสัมพันธ์ให้

ผร ู้ บั บรก ิ ารทราบถง ึ สท ิ ธข ิ ์ องผใ ู้ หบ ้ รก ิ าร และโรงพยาบาลที่จะด าเนินการตามแนว

ปฏิบัติที่โรงพยาบาลก าหนดทันที กรณีเกิดความรุนแรงทั้งร่างกาย วาจา

 Environment Control เช่น ประตู access control ในห้องฉุกเฉิน, กล้องวงจรปิด, มี

เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยประจ าห้องฉุกเฉิน 24 ชั่วโมง ระบบ Scan อาวุธ

 จัดสถานที่หรือห้องรอคอย ที่สะดวกสบาย มีสิ่งอ านวยความสะดวก เช่น โทรทัศน์

น ้าดื่ม เป็นต้น

 จัดท าแนวปฏิบัติกรณีเกิดเหตุการณ์ความรุนแรงที่ส่งผลต่อความปลอดภัยของ

บุคลากรและผู้รับบริการรายอื่น เช่น กรณียกพวกตีกัน การใช้อาวุธ ในห้องฉุกเฉิน

เป็นต้น

 ประสานงานกับต ารวจ ทหาร เพื่อก าหนดแนวทางร่วมกันในการป้องกันและลด

ความเสี่ยงกรณีเกิดความรุนแรง

 จัดท าแนวทางการประเมินความเสี่ยงผู้ป่วยและญาติที่มีแนวโน้มจะก่อความรุนแรง

(Behavioral emergency screening)

 จัดตั้ง Behavioral Emergency Response Team(BERT) ซึ่งควรจะประกอบไป

แพทย์ พยาบาลที่ได้รับการฝึกอบรม เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย

2. ระยะเกิดเหตุ

 ขอความช่วยเหลือด่วน (Call for help early)

 หลีกหนีจากเหตุการณ์ความรุนแรง

 ประสานงานกับเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ต ารวจ ทหาร

 ประเมินความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น ถ้าความเสี่ยงสูง พิจารณาปิดบริการ

 บันทึกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและรายงานต่อผู้บริหารทันที

3. ระยะหลังเกิดเหตุหรือระยะฟื้นฟู

 รายงานเหตุการณ์ตามแนวปฏิบัติที่โรงพยาบาลก าหนด

 ค้นหาสาเหตุ(Root Cause Analysis) และแนวทางป้องกัน

 จัดท ามาตรการเยียวยาบุคลากรที่ได้รับผลกระทบจากความรุนแรง

Training

1. อบรม Behavioral Emergency Screening

2. อบรมการจัดการกับความรุนแรงในห้องฉุกเฉิน

3. มีการซ้อมแผน

Monitoring

1. จ านวนครั้งการเกิดอุบัติการณ์ความรุนแรงในห้องฉุกเฉิน

2. ระดับความส าเร็จในการด าเนินงานตามมาตรฐานการป้องกันความรุนแรงในห้องฉุกเฉิน

Pitfall

1. ขาดการบริหารจัดการเชิงนโยบายและเชิงระบบเพื่อป้องกันภาวะความรุนแรงในห้องฉุกเฉิน

2. บุคลากรขาดประสบการณ์ในการจัดการกับความรุนแรงในห้องฉุกเฉิน

3. บุคลากรไม่รายงานเหตุการณ์ เพราะรู้สึกว่ารายงานไปก็ไม่มีประโยชน์

มาตรฐาน HA

การปฎิบัติตามแนวทางข้างต้น คือการปฏิบัติตามมาตรฐาน โรงพยาบาลและบริการสุขภาพ

ฉบับที่ 4 ตอนที่ I หมวดที่ 5 ข้อ 5.1 สภาพแวดล้อมของก าลังคน (WKF.1) ค. สุขภาพและความ

ปลอดภัยของก าลังคน (1), ตอนที่ II หมวดที่ 3 ข้อ 3.1 สิ่งแวดล้อมทางกายภาพและความ

ปลอดภัย (ENV.1) ก. ความปลอดภัยและสวัสดิภาพ (1), (2), (4), และ (5) ค. การจัดการกับ

ภาวะฉุกเฉิน (1), (2) cละ (3)