CPPS

Chronic pelvic pain syndrome

Chronic prostatitis

ต่อมลูกหมากอักเสบ

สาเหตุ

เกิดจากการติดเชื้อ มาจากได้หลายที่

-ท่อปัสสาวะ ทวารหนัก จากกระแสเลือด-

เชื้อต้นเหตุ

-พบบ่อย Ecoli, Enterobacter, Serratia, Pseudomanos, Enterococcus, Proteus spp.

-กรณีเรื้อรังอาจพบ : C.trachomatis, Ureaplasma spp., Trichomonas vaginalis

-อายุน้อยกว่า 35 ปี : N. gonorrhea, Chlamydia trachomatis

-พบน้อย : M.tuberculosis, Coccidioides, Histoplasma, Candida spp.

-อื่นๆ : HIV, CMV, Sarcoidosis

Category ชนิดของการอักเสบ

1.Acute bacterial prostatitis พบน้อย 5%

อาการปวด ปวดทันที อาการกระเพาะปัสสาวะอักเสบ ปัสสาวะบ่อย แสบขัด กลั้นไม่ค่อยอยู่ ปวดปัสสาวะไม่ออก เบ่งมาก

อาการติดเชื้อ ไข้ หนาวสั่น คลื่นไส้อาเจียน ปวดหลัง ปวดเอว ปวดข้อ ปวดตามตัว

อาการทางเดินปัสสาวะ ปวดเหนือหัวเหน่าหรือฝีเย็บ ปัสสาวะแสบขัด ไม่ออก ลำบาก เบ่งนาน ไม่พุ่ง ไม่สุด กลั้นไม่อยู่ต้องรีบเข้าห้องน้ำ

Discharge ไหล ออกมาจากท่อปัสสาวะ

2.Chronic bacterial prostatitis : CP

มีอาการของระบบปัสสาวะ และติดเชื้อระบบปัสสาวะเป็นๆหายๆแบบเรื้อรัง

อาจมีอาการในกลุ่ม 1 หรือ 3 ร่วมแทรกเข้ามา

3.Chronic pelvic pain syndrome : CPPS ปวดหน่วงช่วงล่างเรื้อรังโดยไม่ทราบเหตุ

3a inflammatory CPPS : พบ wbc ใน secretion

3b noninflammatory CPPS : normal secretion

ที่จริงไม่ใช่กลุ่มอาการ syndrome เป็นเพียงมีอาการปวดหลายๆตำแหน่งที่ท้องน้อยและฝีเย็บ บางทีก็ไม่รู้สาเหตุเลย

อาการปวด ที่สำคัญ คือ มีอาการปวดขณะหลั่งอสุจิ

อาการชัดเจน คือ ปวดเรื้อรัง โดยเฉพาะที่ฝีเย็บ หัวหน่าวและอวัยวะเพศ อาจปวดที่อัณฑะ ขาหนีบหรือเอวได้

อาการปัสสาวะแสบขัด ลำบากเป็นๆหายๆ

4. Asymptomatic inflammatory prostatitis

ไม่มีอาการปวดหรือทางเดินปัสสาวะผิดปกติ แต่จะมาด้วย อาการต่อมลูกหมากโต

ตรวจพบ PSA สูง พบมะเร็งต่อมลูกหมาก หรือ มีบุตรยาก

การวินิจฉัย

1.ตรวจทางหน้าท้อง

2.PR

3.UA , นวดต่อมลูกหมากเพื่อ ตรวจสารคัดหลั่งที่ออกมาจากท่อปัสสาวะ

4.cystoscopy ในกรณีที่พบปัสสาวะเป็นเลือด หรือ น่าจะมีเลือดออกทางเดินปัสสาว

5.U/S prostate gland และ Prostate biopsy มีความจำเป็นน้อยในการวินิจฉัย

ทำต่อเมื่อหาสาเหตุและรักษาไม่ดีขึ้น

การรักษา

1.Antibiotic ทั้งใน acute และ chronic prostatitis

ยาในกลุ่ม fluoroquinolone รักษา E.Coli, enterobacteriaceae

ระยะเวลารักษา 2-4 สัปดาห์

2.alpha adrenergic blocker therapy จะทำให้กล้ามเนื้อต่อมลูกหมายคลายตัว

ลดอาการปัสสาวะลำบาก การเบ่ง ไม่พุ่ง ไม่สุด

https://sites.google.com/site/drugnoter/drug-for-bph

3.ยาลดการอักเสบและimmune modulators : NSAIDS ลดปวดฝีเย็บ ท้องน้อย ลดอาการปัสสาวะผิดปกติ

4.ยาคลายกล้ามเนื้อ ใช้ร่วมกับยาอื่นช่วยลดการอักเสบได้

5.การให้ฮอร์โมนรักษา : anti-androgen, 5alpha reductase inhibitors (Harnal®)

ยับยังการแบ่งตัวต่อมลูกหมาก ใช้กรณีต่อมลูกหมากโต ที่ต้องกันยาพวกนี้อยู่แล้ว

https://sites.google.com/site/drugnoter/drug-for-bph

6.อื่นๆ เช่น phytotherapeutic agents, allopurinol ช่วยลดอาการได้ แต่ไม่นิยม

การรักษาโดยไม่ใช้ยา

1.นวดต่อมลูกหมาก เพื่อระบายของเหลวออกไป ช่วยให้ยาเข้าถึงต่อมได้ดีขึ้น ใช้ช่วยเมื่อรักษษวิธีอื่นไม่ดีขึ้น

นิ้วสอดทวารหนัก กดที่ต่อมลูกหมากเบาๆ กดลงไปจุดประสงค์เพื่อให้เปิด ท่อต่อมลูกหมากที่อุดตัน ให้ secretion ไหลออกมาทางท่อปัสสาวะ นวด1 -3 ครั้ง/wk 3-4 wk สำหรับ CP, CPPS

2.การคลายกล้ามเนื้อตำแหน่งที่ปวด กดดึงยืด ยาฉีด เข็มเจาะ ไฟฟ้า โยคะ

3.ผ่าตัด ตัดออกตามข้อบ่งชี้ : TUR-P, radical prostatectomy

4.ปรึกษา จิตเวชร่วมด้วยรักษาภาวะเครียดทางจิตใจ

Ref.

http://www.prostate-rama.com/reading_detail.php?cid=4

http://emedicine.medscape.com/article/437745-treatment

http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC2245867/