หนังสืออ้างอิง

หนังสืออ้างอิง

๑. จดหมายเหตุ สมัยอยุธยา . หอสมุดแห่งชาติ กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สำนักงานทำเนียบนายกรัฐมนตรี , พ.ศ.๒๕๑๐

๒. อัฏฐธรรมปัญหา ใบลานจารอักษรขอมภาษาไทย: ส่วนบริการเอกสารโบราณ หอสมุดแห่งชาติ

๓. อัฏฐธรรมปัญหา สมุดไทยดำตัวเขียนอักษรไทยภาษาไทยและอักษรขอมภาษาบาลี : ส่วนบริการเอกสารโบราณ

หอสมุดแห่งชาติ

๔. พระไตรปิฎกบาลี ฉบับสังคายนา พ.ศ.๒๕๓๐(ทยฺยรฏฺฐสฺส สงฺคีติเตปิฏกํ ๒๕๓๐ พุทฺธวสฺเส)

๕. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ.๒๕๓๙

๖. อรรถกถาบาลี ฉบับสยามรัฐ มหามกุฏราชวิทยาลัยพ.ศ.๒๕๓๕(สฺยามรฏฺฐสฺส เตปิฏกฏฺกถา)

. พระสูตรและอรรถกถา(แปล) มหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ.๒๕๒๕

๘. พระไตรปิฎกและอรรถกถา ฉบับคอมพิวเตอร์(BUDSIR IV) มหาวิทยาลัยมหิดล

๙. พระวิสุทธิมรรคแปล มหาวงศ์ชาญบาลี โรงพิมพ์ธรรมบรรณาคาร พ.ศ.๒๕๒๗

๑๐. พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. เจ้าคุณพระธรรมปิฎก(ป.อ.ปยุต.โต) , กรุงเทพฯ

: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย , พ.ศ.๒๕๔๓

๑๑. พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. เจ้าคุณพระธรรมปิฎก(ป.อ.ปยุต.โต) , กรุงเทพฯ

: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย , พ.ศ.๒๕๔๓

๑๒. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๒๕ . กรุงเทพฯ : บจก.อักษรเจริญทัศน์ อทจ , พ.ศ.๒๕๓๙

๑๓. ปฏิจจสมุปบาท . พุทธทาสภิกขุ , กรุงเทพ : สำนักพิมพ์ธรรมสภา

๑๔. พระนิพพาน. ธนิต อยู่โพธิ์ , กรุงเทพฯ : ศูนย์ส่งเสริมพระพุทธศาสนาแห่งประเทศไทย , พ.ศ.๒๕๔๒

๑๕. ราชาศัพท์. ศรีสว่าง-ชิต ภิบาลแทน , กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เจริญกิจ , ไม่ปรากฏปีที่พิมพ์

๑๖. พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ(เจิม) กับพระจักรพรรดิพงศ์(จาด) . กรุงเทพฯ

: สำนักพิมพ์คลังวิทยา , พ.ศ.๒๕๐๗

๑๗. พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับพระราชหัตถเลขา.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์คลังวิทยา, พ.ศ.๒๕๑๖

๑๘. พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงสารประเสริฐ อักษรนิติ . กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์คลังวิทยา , พ.ศ.๒๕๑๕

๑๙. พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับพระพนรัตน์ วัดพระเชตุพน.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์คลังวิทยา, พ.ศ.๒๕๑๖

๒๐. เอกสารคำสอน วิชาประวัติศาสตร์ไทย ๓. ผศ.บังอร ปิยะพันธ์ , นครปฐม : วิทยาลัยครูนครปฐม , พ.ศ.๒๕๓๑

๒๑. ในราชสำนักพระนารายณ์ . อ.ประมวลวิทย์ , กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์ , ๒๕๐๕

๒๒. อยุธยา ประวัติศาสตร์และการเมือง . ชาญวิท เกษตรศิริ , กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์

และมนุษยศาสตร์ , พ.ศ.๒๕๔๒

๒๓. ข้อมูลประวัติศาสตร์ สมัยอยุธยา. ศจ.ขจร สุขพานิช , กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , พ.ศ.๒๕๑๕

ปกหลัง

““ ผู้ไม่เห็นในทุกข์ ย่อมไม่ปรารถนาที่จะออกจากทุกข์

ผู้ไม่เห็นในคุณของพระนิพพาน ย่อมไม่ปรารถนาปรมัตถประโยชน์

ผู้ไม่เห็นในปรมัตถประโยชน์ ย่อมไม่ปรารภความเพียร ””

ธวัชชัย ขำชะยันจะ