ตัวบ่งชี้ที่ 5.1

ข้อที่ 2 ดําเนินการวิเคราะห์ข้อมูลทางการเงินที่ประกอบไปด้วยต้นทุนต่อหน่วยในแต่ละหลักสูตร สัดส่วนค่าใช้จ่ายเพื่อพัฒนานักศึกษา อาจารย์ บุคลากร การจัดการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่องเพื่อวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการบริหารหลักสูตร ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการผลิตบัณฑิตและโอกาสในการแข่งขัน ปี2563

ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษา

มาตรฐานที่ 5 การบริหารจัดการ

ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลัษณ์ของคณะ

เกณฑ์ข้อที่ 2. ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลทางการเงินที่ประกอบไปด้วยต้นทุนต่อหน่วยในแต่ละหลักสูตร สัดส่วนค่าใช้จ่ายเพื่อพัฒนานักศึกษา อาจารย์ บุคลากร การจัดการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง เพื่อวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการบริหารหลักสูตร ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการผลิตบัณฑิต และโอกาสในการแข่งขัน


มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ได้แต่งตั้ง คณะกรรมการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต ประจำปีงบประมาณ 2563 (EDU.5.1.2.1) เพื่อดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลทางการเงินที่ประกอบไปด้วยต้นทุนต่อหน่วยนักศึกษาประจำปีงบประมาณ 2563

คณะครุศาสตร์ได้รับจัดสรรงบประมาณแผ่นดิน และงบประมาณเงินรายได้ คณะได้จัดสรรให้และสาขาวิชาของคณะครุศาสตร์ ซึ่งกระบวนการจัดสรรงบประมาณได้พิจารณาเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารคณะ โดยจัดสรรให้สาขาวิชาตามนักศึกษาคงอยู่ที่สังกัดคณะครุศาสตร์ ได้แก่ สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย สาขาพลศึกษา สาขาประถมศึกษา สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา สาขาวิทยาศาสตร์การกีฬา ป.บัณฑิตวิชาชีพครู ครุศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ครุศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาบริหารการศึกษา

คณะครุศาสตร์ได้เข้าร่วมจัดทำวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตประจำปี 2563 ซึ่งมหาวิทยาลัยจัดขึ้นในวันที่ 3-5 มีนาคม 2564 ณ ห้องประชุมช้างเผือก ได้เปรียบเทียบต้นทุนต่อหน่วยการผลิตระหว่างปี 2562 กับปี 2563 เพื่อให้เห็นงบประมาณที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงในแต่ละปีเพื่อมีแนวทางในการพัฒนาให้สอดคล้องในการพัฒนานักศึกษา พัฒนาอาจารย์และบุคลากร เพื่อให้การบริหารจัดการหลักสูตรของคณะนั้นมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลสูงสุดดังตามภาพรวมของต้นทุนต่อหน่วยผลิตของแต่ละสาขาวิชาที่สังกัดในคณะครุศาสตร์ดังนี้

2.ความคุ้มค่าของบริหารหลักสูตร

รายรับจากค่าลงทะเบียนตลอดหลักสูตร (บาท/คน) 60,000 บาท

งบดำเนินการ ลงทุน งบดำเนินการ งบดำเนินการ

ค่าใช้จ่ายทางอ้อม และลงทุน

รายจ่ายจากค่าใช้จ่ายต่อหน่วยตลอดหลักสูตร (บาท/คน) 84,912 39,352 39,352

สัดส่วนรายรับต่อรายจ่าย 0.71 1.52 1.52

วิเคราะห์ความคุ้มค่าของการบริหารหลักสูตร

ไม่คุ้มค่า คุ้มค่า คุ้มค่า

3.ประสิทธิผลในการผลิตบัณฑิตของหลักสูตร

3.1 ต้นทุนประสิทธิผลของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตามกำหนด

จำนวนนักศึกษาปีสุดท้ายของของหลักสูตร 58 คน

ต้นทุนรวมของหลักสูตร 3,480,000 บาท/ปี

ต้นทุนประสิทธิผลของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตามกำหนด 120,000 บาท/คน/ปี

3.2 ต้นทุนประสิทธิผลของบัณฑิตที่มีงานทำ

จำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา พ.ศ.2563 ที่มีงานทำ 29 คน

ต้นทุนของประสิทธิผลของบัณฑิตที่มีงานทำ 120,000 บาท/คน/ปี

จากตารางข้างต้น มีการคำนวณค่าใช้จ่ายในการผลิตบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ค่าใช้จ่ายต่อหัวนักศึกษาเต็มเวลา แบ่งเป็นดังนี้

1. เฉพาะงบดำเนินการ ต่อหัวนักศึกษา จำนวนเงิน 39,352 บาท ซึ่งน้อยกว่าค่าลงทะเบียนนักศึกษา จำนวนเงิน 60,000 บาท ดังนั้นสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัยมีความคุ้มทุน

2. เฉพาะงบดำเนินการและงบลงทุน ต่อหัวนักศึกษา จำนวนเงิน 39,352 บาท ซึ่งน้อยกว่าค่าลงทะเบียนนักศึกษา จำนวนเงิน 60,000 บาท ดังนั้นสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัยมีความคุ้มทุน

3. รวมทุกประเภทรายจ่าย (งบดำเนินการ+งบลงทุน+ค่าใช้จ่ายทางอ้อม) ต่อหัวนักศึกษา จำนวนเงิน 84,912 บาท ซึ่งมากกว่าค่าลงทะเบียนนักศึกษา จำนวนเงิน 60,000 บาท ดังนั้นสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัยไม่คุ้มทุน

2.ความคุ้มค่าของบริหารหลักสูตร

รายรับจากค่าลงทะเบียนตลอดหลักสูตร (บาท/คน) 60,000 บาท

งบดำเนินการ ลงทุน งบดำเนินการ งบดำเนินการค่าใช้จ่ายทางอ้อม และลงทุน

รายจ่ายจากค่าใช้จ่ายต่อหน่วยตลอดหลักสูตร (บาท/คน)

96,668 39,354 39,452

สัดส่วนรายรับต่อรายจ่าย 0.61 1.52 1.52

การวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการบริหารหลักสูตร

ไม่คุ้มค่า คุ้มค่า คุ้มค่า

3.ประสิทธิผลในการผลิตบัณฑิตของหลักสูตร

3.1ต้นทุนประสิทธิผลของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตามกำหนด

จำนวนนักศึกษาปีสุดท้ายของของหลักสูตร 55 คน

ต้นทุนรวมของหลักสูตร 3,300,000 บาท/ปี

ต้นทุนประสิทธิผลของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตามกำหนด 70,212.77 บาท/คน/ปี

3.2 ต้นทุนประสิทธิผลของบัณฑิตที่มีงานทำ

จำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา พ.ศ.2563 ที่มีงานทำ 31 คน

ต้นทุนของประสิทธิผลของบัณฑิตที่มีงานทำ 106,451.61 บาท/คน/ปี

จากตารางข้างต้น มีการคำนวณค่าใช้จ่ายในการผลิตบัณฑิต สาขาวิชาพลศึกษา ค่าใช้จ่ายต่อหัวนักศึกษาเต็มเวลา แบ่งเป็นดังนี้

1. เฉพาะงบดำเนินการ ต่อหัวนักศึกษา จำนวนเงิน 39,452 บาท ซึ่งน้อยกว่าค่าลงทะเบียนนักศึกษา จำนวนเงิน 60,000 บาท ดังนั้นสาขาวิชาพลศึกษามีความคุ้มทุน

2. เฉพาะงบดำเนินการและงบลงทุน ต่อหัวนักศึกษา จำนวนเงิน 39,452 บาท ซึ่งน้อยกว่าค่าลงทะเบียนนักศึกษา จำนวนเงิน 60,000 บาท ดังนั้นสาขาวิชาพลศึกษามีความคุ้มทุน

3. รวมทุกประเภทรายจ่าย (งบดำเนินการ+งบลงทุน+ค่าใช้จ่ายทางอ้อม) ต่อหัวนักศึกษา จำนวนเงิน 98,668 บาท ซึ่งมากกว่าค่าลงทะเบียนนักศึกษา จำนวนเงิน 60,000 บาท ดังนั้นสาขาวิชาพลศึกษาไม่คุ้มทุน

2.ความคุ้มค่าของบริหารหลักสูตร

รายรับจากค่าลงทะเบียนตลอดหลักสูตร (บาท/คน) 60,000 บาท

งบดำเนินการ ลงทุน งบดำเนินการ งบดำเนินการ

ค่าใช้จ่ายทางอ้อม และลงทุน

รายจ่ายจากค่าใช้จ่ายต่อหน่วยตลอดหลักสูตร (บาท/คน)

77,992 38,608 38,608

สัดส่วนรายรับต่อรายจ่าย 0.77 1.55 1.55

การวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการบริหารหลักสูตร

ไม่คุ้มค่า คุ้มค่า คุ้มค่า

3.ประสิทธิผลในการผลิตบัณฑิตของหลักสูตร

3.1ต้นทุนประสิทธิผลของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตามกำหนด

จำนวนนักศึกษาปีสุดท้ายของของหลักสูตร 52 คน

ต้นทุนรวมของหลักสูตร 3,120,000 บาท/ปี

ต้นทุนประสิทธิผลของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตามกำหนด 53,793.10 บาท/คน/ปี

3.2 ต้นทุนประสิทธิผลของบัณฑิตที่มีงานทำ

จำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา พ.ศ.2563 ที่มีงานทำ 37 คน

ต้นทุนของประสิทธิผลของบัณฑิตที่มีงานทำ 84,328.32 บาท/คน/ปี

จากตารางข้างต้น มีการคำนวณค่าใช้จ่ายในการผลิตบัณฑิต สาขาวิชาประถมศึกษา ค่าใช้จ่ายต่อหัวนักศึกษาเต็มเวลา แบ่งเป็นดังนี้

1. เฉพาะงบดำเนินการ ต่อหัวนักศึกษา จำนวนเงิน 38,608 บาท ซึ่งน้อยกว่าค่าลงทะเบียนนักศึกษา จำนวนเงิน 60,000 บาท ดังนั้นสาขาวิชาประถมศึกษามีความคุ้มทุน

2. เฉพาะงบดำเนินการและงบลงทุน ต่อหัวนักศึกษา จำนวนเงิน 38,608 บาท ซึ่งน้อยกว่าค่าลงทะเบียนนักศึกษา จำนวนเงิน 60,000 บาท ดังนั้นสาขาวิชาประถมศึกษามีความคุ้มทุน

3. รวมทุกประเภทรายจ่าย (งบดำเนินการ+งบลงทุน+ค่าใช้จ่ายทางอ้อม) ต่อหัวนักศึกษา จำนวนเงิน 77,992 บาท ซึ่งมากกว่าค่าลงทะเบียนนักศึกษา จำนวนเงิน 60,000 บาท ดังนั้นสาขาวิชาประถมศึกษาไม่คุ้มทุน

2.ความคุ้มค่าของบริหารหลักสูตร

รายรับจากค่าลงทะเบียนตลอดหลักสูตร (บาท/คน) 60,000 บาท

งบดำเนินการ ลงทุน งบดำเนินการ งบดำเนินการ

ค่าใช้จ่ายทางอ้อม และลงทุน

รายจ่ายจากค่าใช้จ่ายต่อหน่วยตลอดหลักสูตร (บาท/คน)

134,016 63,028 63,028

สัดส่วนรายรับต่อรายจ่าย 0.45 0.95 0.95

การวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการบริหารหลักสูตร

ไม่คุ้มค่า ไม่คุ้มค่า ไม่คุ้มค่า

3.ประสิทธิผลในการผลิตบัณฑิตของหลักสูตร

3.1ต้นทุนประสิทธิผลของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตามกำหนด

จำนวนนักศึกษาปีสุดท้ายของของหลักสูตร 46 คน

ต้นทุนรวมของหลักสูตร 2,760,000 บาท/ปี

ต้นทุนประสิทธิผลของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตามกำหนด 95,172.41 บาท/คน/ปี

3.2 ต้นทุนประสิทธิผลของบัณฑิตที่มีงานทำ

จำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา พ.ศ.2563 ที่มีงานทำ - คน

ต้นทุนของประสิทธิผลของบัณฑิตที่มีงานทำ - บาท/คน/ปี

จากตารางข้างต้น มีการคำนวณค่าใช้จ่ายในการผลิตบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา ค่าใช้จ่ายต่อหัวนักศึกษาเต็มเวลา แบ่งเป็นดังนี้

1. เฉพาะงบดำเนินการ ต่อหัวนักศึกษา จำนวนเงิน 63,028 บาท ซึ่งมากกว่าค่าลงทะเบียนนักศึกษา จำนวนเงิน 60,000 บาท ดังนั้นสาขาวิชาเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษามีความไม่คุ้มทุน

2. เฉพาะงบดำเนินการและงบลงทุน ต่อหัวนักศึกษา จำนวนเงิน 63,028 บาท ซึ่งมากกว่าค่าลงทะเบียนนักศึกษา จำนวนเงิน 60,000 บาท ดังนั้นสาขาวิชาเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษามีความไม่คุ้มทุน

3. รวมทุกประเภทรายจ่าย (งบดำเนินการ+งบลงทุน+ค่าใช้จ่ายทางอ้อม) ต่อหัวนักศึกษา จำนวนเงิน 134,016บาท ซึ่งมากกว่าค่าลงทะเบียนนักศึกษา จำนวนเงิน 60,000 บาท ดังนั้นสาขาวิชาเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาไม่คุ้มทุน

2.ความคุ้มค่าของบริหารหลักสูตร

รายรับจากค่าลงทะเบียนตลอดหลักสูตร (บาท/คน) 60,000 บาท

งบดำเนินการ ลงทุน งบดำเนินการ งบดำเนินการค่าใช้จ่ายทางอ้อม และลงทุน

รายจ่ายจากค่าใช้จ่ายต่อหน่วยตลอดหลักสูตร (บาท/คน)

91,244 46,404 46,404

สัดส่วนรายรับต่อรายจ่าย 0.66 1.29 1.29

การวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการบริหารหลักสูตร

ไม่คุ้มค่า คุ้มค่า คุ้มค่า

3.ประสิทธิผลในการผลิตบัณฑิตของหลักสูตร

3.1ต้นทุนประสิทธิผลของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตามกำหนด

จำนวนนักศึกษาปีสุดท้ายของของหลักสูตร 25 คน

ต้นทุนรวมของหลักสูตร 1,500,000 บาท/ปี

ต้นทุนประสิทธิผลของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตามกำหนด 41,666.67 บาท/คน/ปี

3.2 ต้นทุนประสิทธิผลของบัณฑิตที่มีงานทำ

จำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา พ.ศ.2563 ที่มีงานทำ 37 คน

ต้นทุนของประสิทธิผลของบัณฑิตที่มีงานทำ 41,666.67 บาท/คน/ปี

จากตารางข้างต้น มีการคำนวณค่าใช้จ่ายในการผลิตบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา ค่าใช้จ่ายต่อหัวนักศึกษาเต็มเวลา แบ่งเป็นดังนี้

1. เฉพาะงบดำเนินการ ต่อหัวนักศึกษา จำนวนเงิน 46,404 บาท ซึ่งน้อยกว่าค่าลงทะเบียนนักศึกษา จำนวนเงิน 60,000 บาท ดังนั้นสาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬามีความคุ้มทุน

2. เฉพาะงบดำเนินการและงบลงทุน ต่อหัวนักศึกษา จำนวนเงิน 46,404บาท ซึ่งน้อยกว่าค่าลงทะเบียนนักศึกษา จำนวนเงิน 60,000 บาท ดังนั้นสาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬามีความคุ้มทุน

3. รวมทุกประเภทรายจ่าย (งบดำเนินการ+งบลงทุน+ค่าใช้จ่ายทางอ้อม) ต่อหัวนักศึกษา จำนวนเงิน 91,244 บาท ซึ่งมากกว่าค่าลงทะเบียนนักศึกษา จำนวนเงิน 60,000 บาท ดังนั้นสาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาไม่คุ้มทุน

2.ความคุ้มค่าของบริหารหลักสูตร

รายรับจากค่าลงทะเบียนตลอดหลักสูตร (บาท/คน) 35,000 บาท

งบดำเนินการ ลงทุน งบดำเนินการ งบดำเนินการ

ค่าใช้จ่ายทางอ้อม และลงทุน

รายจ่ายจากค่าใช้จ่ายต่อหน่วยตลอดหลักสูตร (บาท/คน)

85,964 85,960 85,960

สัดส่วนรายรับต่อรายจ่าย 1.63 1.63 1.63

การวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการบริหารหลักสูตร

ไม่คุ้มค่า ไม่คุ้มค่า ไม่คุ้มค่า

3.ประสิทธิผลในการผลิตบัณฑิตของหลักสูตร

3.1ต้นทุนประสิทธิผลของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตามกำหนด

จำนวนนักศึกษาปีสุดท้ายของของหลักสูตร - คน

ต้นทุนรวมของหลักสูตร 3,500,000 บาท/ปี

3.2 ต้นทุนประสิทธิผลของบัณฑิตที่มีงานทำ

จำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา พ.ศ.2563 ที่มีงานทำ - คน

ต้นทุนของประสิทธิผลของบัณฑิตที่มีงานทำ - บาท/คน/ปี

จากตารางข้างต้น มีการคำนวณค่าใช้จ่ายในการผลิตบัณฑิต หลักสูตร ป.บัณฑิตวิชาชีพครู ค่าใช้จ่ายต่อหัวนักศึกษาเต็มเวลา แบ่งเป็นดังนี้

1. เฉพาะงบดำเนินการ ต่อหัวนักศึกษา จำนวนเงิน 85,960 บาท ซึ่งมากกว่าค่าลงทะเบียนนักศึกษา จำนวนเงิน 35,000 บาท ดังนั้นหลักสูตร ป.บัณฑิตวิชาชีพครูมีความไม่คุ้มทุน

2. เฉพาะงบดำเนินการและงบลงทุน ต่อหัวนักศึกษา จำนวนเงิน 85,960 บาท ซึ่งมากกว่าค่าลงทะเบียนนักศึกษา จำนวนเงิน 35,000 บาท ดังนั้นหลักสูตร ป.บัณฑิตวิชาชีพครูมีความไม่คุ้มทุน

3. รวมทุกประเภทรายจ่าย (งบดำเนินการ+งบลงทุน+ค่าใช้จ่ายทางอ้อม) ต่อหัวนักศึกษา จำนวนเงิน 85,964บาท ซึ่งมากกว่าค่าลงทะเบียนนักศึกษา จำนวนเงิน 35,000 บาท ดังนั้นหลักสูตร ป.บัณฑิตวิชาชีพครูไม่คุ้มทุน

2.ความคุ้มค่าของบริหารหลักสูตร

รายรับจากค่าลงทะเบียนตลอดหลักสูตร (บาท/คน) 184,000 บาท

งบดำเนินการ ลงทุน งบดำเนินการ งบดำเนินการ

ค่าใช้จ่ายทางอ้อม และลงทุน

รายจ่ายจากค่าใช้จ่ายต่อหน่วยตลอดหลักสูตร (บาท/คน)

1,367,896 1,367,896 1,367,896

สัดส่วนรายรับต่อรายจ่าย 0.13 0.13 0.13

การวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการบริหารหลักสูตร ไม่คุ้มค่า ไม่คุ้มค่า ไม่คุ้มค่า

3.ประสิทธิผลในการผลิตบัณฑิตของหลักสูตร

3.1ต้นทุนประสิทธิผลของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตามกำหนด

จำนวนนักศึกษาปีสุดท้ายของของหลักสูตร - คน

ต้นทุนรวมของหลักสูตร 8,464,000 บาท/ปี

3.2 ต้นทุนประสิทธิผลของบัณฑิตที่มีงานทำ

จำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา พ.ศ.2563 ที่มีงานทำ - คน

ต้นทุนของประสิทธิผลของบัณฑิตที่มีงานทำ - บาท/คน/ปี

จากตารางข้างต้น มีการคำนวณค่าใช้จ่ายในการผลิตบัณฑิต หลักสูตร คม..เทคโนโลยีสารสนเทศ ค่าใช้จ่ายต่อหัวนักศึกษาเต็มเวลา แบ่งเป็นดังนี้

1. เฉพาะงบดำเนินการ ต่อหัวนักศึกษา จำนวนเงิน 1,367,896 บาท ซึ่งมากกว่าค่าลงทะเบียนนักศึกษา จำนวนเงิน 184,000 บาท ดังนั้นหลักสูตร คม.เทคโนโลยีสารสนเทศ มีความไม่คุ้มทุน

2. เฉพาะงบดำเนินการและงบลงทุน ต่อหัวนักศึกษา จำนวนเงิน 1,367,896 บาท ซึ่งมากกว่าค่าลงทะเบียนนักศึกษา จำนวนเงิน 184,000 บาท ดังนั้นหลักสูตร คม.เทคโนโลยีสารสนเทศมีความไม่คุ้มทุน

3. รวมทุกประเภทรายจ่าย (งบดำเนินการ+งบลงทุน+ค่าใช้จ่ายทางอ้อม) ต่อหัวนักศึกษา จำนวนเงิน 1,367,896 บาท ซึ่งมากกว่าค่าลงทะเบียนนักศึกษา จำนวนเงิน 184,000 บาท ดังนั้นหลักสูตร คม.เทคโนโลยีสารสนเทศ ไม่คุ้มทุน

2.ความคุ้มค่าของบริหารหลักสูตร

รายรับจากค่าลงทะเบียนตลอดหลักสูตร (บาท/คน) 184,000 บาท

งบดำเนินการ ลงทุน งบดำเนินการ งบดำเนินการ

ค่าใช้จ่ายทางอ้อม และลงทุน

รายจ่ายจากค่าใช้จ่ายต่อหน่วยตลอดหลักสูตร (บาท/คน)

356,544 356,544 356,544

สัดส่วนรายรับต่อรายจ่าย 0.52 0.52 0.52

การวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการบริหารหลักสูตร

ไม่คุ้มค่า ไม่คุ้มค่า ไม่คุ้มค่า

3.ประสิทธิผลในการผลิตบัณฑิตของหลักสูตร

3.1ต้นทุนประสิทธิผลของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตามกำหนด

จำนวนนักศึกษาปีสุดท้ายของของหลักสูตร - คน

ต้นทุนรวมของหลักสูตร 8,464,000 บาท/ปี

3.2 ต้นทุนประสิทธิผลของบัณฑิตที่มีงานทำ

จำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา พ.ศ.2563 ที่มีงานทำ - คน

ต้นทุนของประสิทธิผลของบัณฑิตที่มีงานทำ - บาท/คน/ปี

จากตารางข้างต้น มีการคำนวณค่าใช้จ่ายในการผลิตบัณฑิต หลักสูตร คม.บริหารการศึกษา ค่าใช้จ่ายต่อหัวนักศึกษาเต็มเวลา แบ่งเป็นดังนี้

1. เฉพาะงบดำเนินการ ต่อหัวนักศึกษา จำนวนเงิน 356,544 บาท ซึ่งมากกว่าค่าลงทะเบียนนักศึกษา จำนวนเงิน 184,000 บาท ดังนั้นหลักสูตร คม.บริหารการศึกษามีความไม่คุ้มทุน

2. เฉพาะงบดำเนินการและงบลงทุน ต่อหัวนักศึกษา จำนวนเงิน 356,544 บาท ซึ่งมากกว่าค่าลงทะเบียนนักศึกษา จำนวนเงิน 184,000 บาท ดังนั้นหลักสูตร คม.บริหารการศึกษามีความไม่คุ้มทุน

3. รวมทุกประเภทรายจ่าย (งบดำเนินการ+งบลงทุน+ค่าใช้จ่ายทางอ้อม) ต่อหัวนักศึกษา จำนวนเงิน 356,544 บาท ซึ่งมากกว่าค่าลงทะเบียนนักศึกษา จำนวนเงิน 184,000 บาท ดังนั้นหลักสูตร คม.บริหารการศึกษาไม่คุ้มทุน


สรุปผลจากการประเมินความคุ้มค่า

ด้านประสิทธิภาพ

คณะครุศาสตร์ ได้ผลผลิตผู้สำเร็จการศึกษา ได้แก่ สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย สาขาพลศึกษา

สาขาประถมศึกษา สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา สาขาวิทยาศาสตร์การกีฬา ป.บัณฑิตวิชาชีพครู ครุศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ครุศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาบริหารการศึกษา คิดค่ใช้จ่ายจากการดำเนินงานตามกิจกรรม เช่น ค่าใช้จ่ายบุคลากร งบดำเนินงาน ค่าสาธารณูปโภค ค่าเสื่อราคา เป็นต้น โดยใช้จำนวนค่าFTES ของนักศึกษาแต่ละสาขาวิชา เป็นตัวคำนวณต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต ได้ภาพรวมของต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตดังนี้

ในส่วนของสาขาวิชาป.บัณฑิตวิชาชีพครู คม.เทคโนโลยีสารสนเทศ,คม.บริหารการศึกษา ไม่คุ้มทุน เนื่องจากในปีการศึกษา 2562 มหาวิทยาลัยยังไม่อนุญาตให้เปิดรับนักศึกษา ด้วยสาเหตุปรับปรุงหลักสูตร ทำให้หลักสูตรไม่มีรายได้ แต่ยังต้องมีค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร ซึ่งเป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรเช่นเดิม

ด้านประสิทธิผล

ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต

1. ปีการศึกษา 2562 ผู้ใช้บัณฑิตมีความพึงพอใจต่อบัณฑิต อยู่ในระดับคะแนน 4.50

2. ปีการศึกษา 2563 ผู้ใช้บัณฑิตมีความพึงพอใจต่อบัณฑิต อยู่ในระดับคะแนน 4.51

ร้อยละของบัณฑิตที่ได้งานทำ

- ปีการศึกษา 2562 ผู้สำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2562 ได้งานทำหรือประกอบวิชาชีพอิสระภายใน 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 75.32

- ปีการศึกษา 2563 ผู้สำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2563 ได้งานทำหรือประกอบวิชาชีพอิสระภายใน 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 71.91

ด้านผลกระทบและโอกาสในการแข่งขัน

หากวิเคราะห์ถึงผลกระทบจากการดำเนินงานของคณะครุศาสตร์ที่ผลต่อเศรษฐกิจ สังคมและประเทศชาติ คณะครุศาสตร์ถือเป็นคณะที่มีความสำคัญ เนื่องจากทำหน้าที่หลักในการผลิตบัณฑิตครูซึ่งจะได้ต้นแบบครูที่มีคุณภาพเพื่อพัฒนาประเทศให้มีคุณภาพ โดยเฉพาะการผลิตครูเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ซึ่งเป็นสิ่งที่คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง ในส่วนของด้านโอกาสของการแข่งขันนั้นคณะครุศาสตร์ถือว่าได้เปรียบมาก เนื่องมาจากอาชีพครูนั้นเป็นอาชีพที่นักเรียนให้ความสนใจเป็นอย่างมากจึงทำให้เลือกเรียนในคณะครุศาสตร์มากเพราะเป็นคณะฯที่ผลิตบัณฑิตที่เป็นครูส่วนใหญ่ และมีตำแหน่งงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนรองรับสำหรับบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาในคณะครุศาสตร์

รายการเอกสารหลักฐาน

EDU.5.1.2.1 คำสั่งมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต ประจำปีงบประมาณ 2563

EDU.5.1.2.2 รายงานผลการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต คณะครุศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2562

EDU.5.1.2.3 รายงานผลการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต คณะครุศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2563