E607

การสกัดเจลาตินจากเกล็ดปลากะพงเพื่อนนำไปแปรรูปเป็นพลาสติกชีวภาพที่บริโภคได้




พิมแพรวา เทศประสิทธิ์, ฉัตรสุคนธ์ จันทน์เสนะ, ซูเบีย สันติพิทักษ์

ครูที่ปรึกษา คุณครูอดินันท์ เจ๊ะซู, คุณครูณัฐชยา จันทร์วิไชย

บทคัดย่อ

โครงงานการศึกษาอัตราส่วนของเจลาตินจากเกล็ดปลากะพงท่ีเหมาะสมในการทาพลาสติกชีวภาพ โดยใช้สารละลายโซเดียมแอลจีเนต(C6H7NaO6)เป็นตัวผสาน จัดทาข้ึนเพ่ือศึกษาอัตราส่วนขอเจลาตินจาก เกล็ดปลากะพงท่ีเหมาะสมในการทาพลาสติกชีวภาพ ซ่ึงก็คือเล็ดปลากะพง ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพของแผ่น พลาสติกชีวภาพที่ได้ในการละลายน้าและความทนทานต่อแรงดึง โดยเริ่มต้นจะนาเกล็ดปลากะพงที่ล้างทา ความสะอาดแล้วไปปั่นจนละเอียดแล้วร่อนผ่านตะเเกรงเหมาะสาหรับนาไปใช้ โดยปัจจัยแรกที่ต้องศึกษาคือ อัตราส่วนที่เหมาะสมระหว่าง ผสมระหว่างเกล็ดปลา : C6H7NaO6 : ปริมาณน้าในอัตราส่วนท่ีเหมาะสม ได้ อัตราส่วนที่ดีที่สุด คือ 10 : 10 : 500 ตามลาดับ เนื่องจากสามารถละลายน้าและมีความทนทานต่อแรงดึงได้ดีที่สุด