นักวิทยาศาสตร์ภาคเกษตร ม.ธรรมศาตร์ พัฒนาระบบพยากรณ์โรคข้าว

การทำไร่ทำนามีภูมิคุ้มกันต่อสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลง สมาร์ทฟาร์ม

สมาร์ทฟาร์ม หรือ เกษตรอัจฉริยะ เป็นรูปแบบการทำเกษตรแบบใหม่ที่จะทำให้ การทำไร่ทำนามีภูมิคุ้มกันต่อสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป โดยการนำเอาข้อมูลของภูมิอากาศทั้งในระดับพื้นที่ย่อย (Microclimate) ระดับไร่ (Mesoclimate) และระดับมหภาค (Macroclimate) มาใช้ในการบริหารจัดการ ดูแลพื้นที่เพาะปลูก เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพอากาศที่เกิดขึ้น สมาร์ทฟาร์ม เกษตรอัจฉริยะ ความหวังใหม่ของเกษตรกรไทย รวมถึงการเตรียมพร้อมรับมือกับสภาพอากาศที่จะเปลี่ยนแปลงไปในอนาคต

ภาพจาก : pixabay.com

ปัจจุบัน พื้นที่โซลาร์ฟาร์มหลายแห่งทั่วสหรัฐ พยายามแปลงตัวเองให้มาเป็นพื้นที่เกษตร หรือ ช่วยงานการเกษตร เช่น ปลูกพืช หรือ ดอกไม้ ให้เป็นแหล่งที่อยู่ของฝูงผึ้ง และแมลงผสมเกสร มีฟาร์มน้ำผึ้งในโซลาร์ฟาร์ม มีการจ้างงานฝูงแกะให้เข้ามาเล็มหญ้า ทำให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่ม แกะก็ได้กินหญ้าฟรี

นอกจากนั้นเกษตรกรไทยยังต้องมุ่งเน้นพัฒนาการผลิตพืชเศรษฐกิจหลักของประเทศอย่าง ข้าว โดยได้มีนักวิทยาศาสตร์ภาคเกษตรกรรมของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กำลังพัฒนาระบบที่สามารถพยากรณ์การเกิดโรคในนาข้าว โดยใช้ระบบเซ็นเซอร์เก็บข้อมูลสภาพแวดล้อมและสภาพอากาศ ทั้งเรื่องของอุณหภูมิ ความชื้น ปริมาณน้ำฝน ที่ทำงานโดยอาศัยแบตเตอรี่พลังงานโซลาร์เซลล์

เกษตร และ บทวิเคราะห์ เทคโนโลยีทางการเกษตร ตลาดขายพืชผลทางการเกษตร ผลกระทบทางการเกษตร งบประมาณและนโยบายรัฐเพื่อการเกษตร และการส่งออกพืชผลทางการเกษตร ที่ได้รับความสนใจ ติดตามได้ที่ doodido