พย. ๒๗

จารึกเจ้าสี่หมื่นพยาว (วัดลี)

อักษร

ภาษา

ศักราช

จารึกอักษร


วัตถุจารึก

ลักษณะวัตถุ

ขนาดวัตถุ

บัญชี/ทะเบียนวัตถุ

พบเมื่อ

สถานที่พบ

ผู้พบ

ปัจจุบันอยู่ที่

พิมพ์เผยแพร่

ไทยล้านนา (ฝักขาม)

ไทย

จ.ศ. ๘๕๗ (พ.ศ. ๒๐๓๘)

มีจำนวน ๔ ด้าน ด้านที่ ๑ มี ๑๙ บรรทัด พร้อมทั้งดวงฤกษ์ ด้านที่ ๒ มี ๒๖ บรรทัด ด้านที่ ๓ มี ๒๘ บรรทัด (บรรทัดที่ ๑-๑๖ อ่านไม่ได้) ด้านที่ ๔ มี ๒๙ บรรทัด

ศิลา ประเภทหินทราย สีเทา

รูปใบเสมา ตรงกลางมีรอยแตกและมุมขวาบนหักหายไป

กว้าง ๕๒ ซม. สูง ๙๖ ซม. หนา ๑๗ ซม.

พย.๒๗

-

วัดลี ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

-

พิพิธภัณฑ์เวียงพยาว (วัดลี) ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

คณะโบราณคดี. จารึกล้านนา ภาค ๑ เล่ม ๑. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งกรุ๊พ, ๒๕๓๔. หน้า ๑๕๗-๑๖๑.

ด้านที่ ๑

โอกาส ศักราชได้ ๘๕๗ ตัว ในปีเถาะ ไทยว่าปีดับเหม้าเดือน

เชษฐ ไทยว่า เดือน ๙ ออก ๘ ค่ำ ไทยว่า วันกดยี เม็ง ว่า วันอาทิตย์

ยามบ่เที่ยง ๓ บาตรน้ำ ได้ฤกษ์ ๑๑ ตัว ชื่อบุพผัคคุนี ครู

พระเป็นเจ้า เจ้าสี่หมื่นพะเยา หื้อเอาหินมาฝังกดหมายที่

ดิน หื้อเป็นคามเขต ปริมณฑลได้ ๗๐๐ วา แล้วก็

หื้อฝังหินพัทธสีมา หื้อเป็นอุโบสถไว้กับวัดลี มีพระ

มหาเถรเจ้า ตนเป็นอธิบดีในอาราม อันมีชื่อว่าพระ

มหาเถรเจ้าปัญญาวังสะเจ้า และมีเถรเจ้าตนน้อง

๓ ตน ตนหนึ่งชื่อว่าเถรญาณทัสสีเจ้า ตนหนึ่งชื่อว่า

เถรสวรเทพเจ้า ตนหนึ่งชื่อว่าเถรพุทธิมาเจ้า แล ครู

พระเป็นเจ้าให้อาราธนาชาวเจ้ามาชุมนุมสังฆะ มีต้น

ว่า มหาสามีญาณเทพเจ้า อยู่วัดมหาพน มาเป็น

อธิกรรม มหาสามีนนท์ปัญญา อยู่วัดใหม่ มหาสังฆราชา

พุทธาทินน อยู่วัดหลวง มหาเถรสุวรรณ เจ้ามหา

สามีนนท์ อยู่วัดพญาร่วง เจ้าเถรญาณมงคล อยู่วัด...

เจ้าเถรญาณสูนทร อยู่วัดป่า เจ้ากูพระสงฆ์ มาผูก

พัทธสีมา หื้อชอบวินัยสิกขาบท พระพุทธ

เจ้าหื้อเป็นที่สบายแก่ชาวเจ้าสังฆะ แล

บุญอันนี้จุ่งหื้อโอกาสแก่พระ....

ด้านที่ ๒

(บรรทัด ๑ - ๑๖ อ่านไม่ได้ เพราะอักษรลบเลือน)

..............................

...............................

...พันสุวรรณ ....พันสวร...

เถ้าเมืองพระล..เขาเชียง พันหนังสือ.. พัน

เชิงคดี...พรหมสวร พนเชิงคดีแก้ว....

เจ้าเมือง มาช่วงรังเป็น.......

....ครอบครัวอาจารย์บารมี ครอบครัว ๑ นางเพียง ครอบครัว ๑ นางคำ ครอบครัว ๑

............................................

จำนวนนาของวัดมี นา ๘๒๕ ข้าว

ค่า ๓๗๐,๐๐๐ เบี้ย................

คือ.......ข้าวนา............ค่า ๒๒,๐๐๐ เบี้ย อยู่ปากครำ.......

......ข้าว นาสางคำ ค่า ๔๕,๐๐๐ เบี้ย..............

........ข้าว นา..............ค่า ๔๕,๐๐๐ เบี้ย...........อยู่ปากพู

.....................ข้าวนา...........ค่า ๔๕,๐๐๐ เบี้ย...........อยู่ปาก..........

ด้านที่ ๓

// ๑๐๐ ข้าวนา....ค่า ๔๕,๐๐๐ เบี่้ย

๑๐๐ ข้าวนาหนองเทง ค่า

๔๕,๐๐๐ เบี้ย อยู่ปากเบงครำ นาพระ

๑๗๕ ข้าว ค่า ๙๖,๐๐๐ เบี้ย ...๑๐๐ ข้าว

นาทันจัด ค่า ๕๕,๐๐๐ เบี้ย

๔๐ ข้าวนาอู่น้ำ ค่า ๒๗,๕๐๐ เบี้ย

อยู่ปากเบงครำ แล

คนสินทาน ที่ เจ้าหมื่นเจ็ด

เชียงแสนไว้ หื้ออุปฐาก

แก้ว ๓ จำพวก มีจำนวน

๑๐ ครอบครัว คือ นายล่าม

แก้ว ครอบครัว ๑ เงิน ๕๐๐ นาง

จันทร์ทิพย์ ครอบครัว ๑ นายหล้า อยู่บ้าน

ท่าผา ครอบครัว ๑

เงิน ๕๐๐ นายหล้า อยู่บ้านหนาม ครอบครัว ๑

เงิน ๕๐๐ เชียงละ ๑ ครอบครัว ๗๐๐ พันน้อยแก้ว

ครอบครัว ๑ ๕๗๒...ปู่น้อย ครอบครัว ๑

๕๐๐.....เมียสามมงคล ครอบครัว ๑

เมียล่ามอ้าย ครอบครัว ๑ ๔๐๐ เชียงยี

ครองครัว ๑ เป็นเงิน ๓๐๐ คนสินทาน

หมู่นี้ เมื่อเจ้าหมื่นเจ็ด

เชียงแสนตาย เจ้าหมื่นหล้า ลูกข้าหลวง...

ก็หาก สั่งไว้ให้เขา

อุปฐาก แก้ว ๓ จำ

พวกดังเก่า แล้วชาว

เจ้าสังฆะว่าดังนี้ "คนสิน

ด้านที่ ๔

ทานหมู่นี้ เมื่อบาสกเจ้ากูยัง

เขาเป็นคนสินทาน บาสกเจ้า

กู แล บัดนี้บาสกเจ้ากูตาย

เขาก็เป็นคนสินทาน

มหาราชเจ้า เจ้าแผ่นดินทั้งสิ้น

แลเจ้ากู เยี้ยะรักษา เอา

ไว้อุปฐาก แก้ว ๓

จำพวกดังก่อน หื้อบุญ

จำเริญแก่มหาราช เจ้า

แผ่นดิน เทอญ อย่าหื้อไผ

ใช้สอยเขา แด บ้าน

กับวัด มีแต่โบราณ ๖ บ้าน คือ

บ้านหนองลูงเหนือ นายมงคล

อยู่ มีหน้าที่ ส่งเกลือ ขวบ ๓,๕๐๐

น้ำ...บ้านชาวใต้ เถ้าเชียง

ช่างอยู่ มีหน้าที่ส่งเกลือ ขวบ

๒,๕๐๐ น้ำ....บ้านดอน คนฝูง

อยู่มีหน้าที่ ส่งเบี้ย ขวบ ๖,๕๐๐... บ้าน

อินทร์ เป็นสวนไม้ บ้านใหม่

นายอินทร์อยู่...บ้าน

หัวหนอง ช่างฟอง

อยู่มีแต่โบราณ แล

หมื่นนาหลังศรีพัด เถ้าเมือง

สุวรรณ พันนนท์ ปากอารี ปาก

ญาเทพ พันสิน พันอินทร์

หนังสือเมือง ปากคำเพียร เป็นคนลุง

หมอราที่เป็นเจ้าเมืองเชียงราย ปาก

ญา เป็นคนพันนนท์ต่างเมือง เขา

ฝูงนี้ก็รู้ด้วย แล///