ศิลาจารึก

ศิลาจารึกเป็นสิ่งที่บันทึกเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในอดีต ลักษณะจารึกมีทั้ง แบบเป็นแผ่นจารึกได้ ๒ ด้าน และแบบเป็นแท่งสี่เหลี่ยมจารึกได้ทั้ง ๔ ด้าน บางหลัก เป็นอักษรฝั่งขาม อักษรธรรมล้านนา ภาษาไทยภาคเหนือ วัตถุโบราณเหล่านี้แสดงให้เห็นว่า ดินแดนแถบนี้มีอารยธรรมที่เจริญรุ่งเรือง เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นในยุคนั้นที่ใช้แท่งหินขัด ผิวเรียบสลักอักษรคมชัด ง่ายต่อการอ่าน และคงสภาพได้นานยิ่ง จารึกที่ค้นพบในปัจจุบันนี้มีประมาณร้อยกว่าหลัก เป็นหลักฐานที่แสดงความรู้ทางภาษาในสมัยก่อนได้เป็นอย่างดี และพะเยายังเป็นจังหวัดที่พบศิลาจารึกหินทรายมากที่สุดในประเทศไทย

จารึกของเมืองพะเยาที่พบมีดังนี้

๑. จารึกกษัตริย์ราชวงค์มังราย (ลพ. ๙) จารึกเมื่อ พ.ศ. ๑๙๕๔

๒. จารึกเจ้าสี่หมื่นกระทำพระ (พย. ๔๔) จบารึกเมื่อ พ.ศ. ๑๙๕๔

๓. จารึกเจ้าหมื่นเลี้ยงเป็นเจ้าสี่หมื่นเมืองพยาว (พย. ๔๗) จารึกเมื่อ พ.ศ. ๑๙๕๔

๔. จารึกวัดห้วยนาค (พย. ๕๒) จารึกเมื่อ พ.ศ. ๑๙๕๔

๕. จารึกวัดเก้ายอด (ลพ.๒๗) จารึกเมื่อ พ.ศ. ๑๙๕๕

๖. จารึกวัดดงตุ้มลุ้ม (พป. ๔๑๗/๒๕๒๔) จารึกเมื่อ พ.ศ. ๒๐๑๗

๗. จารึกพระยาสองแคว (ลพ.๒๔) จารึกเมื่อ พ.ศ. ๒๐๐๕

๘. จารึกฐานพระพุทธรูปราชายุทธิษฐิระ (กท. ๙๓) จารึกเมื่อ พ.ศ. ๒๐๑๗

๙. จารึกพระราชาอโศกราช (พย. ๔๕) จารึกเมื่อ พศ. ๒๐๒๑

๑๐. จารึกวัดป่าเหียง (พย.๕) จารึกเมื่อ พ.ศ. ๒๐๒๖

๑๑. จารึกวัดดอนคราม (พย.๒) จารึกเมื่อ พ.ศ. ๒๐๓๑

๑๒. จารึกเจ้าสี่หมื่นให้จารสีมาใหม่ (พย.๔๖) จารึกเมื่อ พ.ศ. ๒๐๓๓

๑๓. จารึกเจ้าสี่หมื่นทำสีมาใหม่ (พย.๓) จารึกเมื่อ พ.ศ. ๒๐๓๓

๑๔. จารึกสมเด็จมหาสามีญาณเทพ (พย.๕๗) จารึกเมื่อ พ.ศ. ๒๐๓๓

๑๕. จารึกวัดพุทธอาราม (พย.๔) จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๐๓๕

๑๖. จารึกพระเป็นเจ้าเมืองเชียงราย (พย.๖) จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๐๓๖

๑๗.จารึกบ้านร่องไฮ้ (พย.๒๓) จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๐๓๗

๑๘. จารึกวัดอารามป่าน้อย (พย.๒๖) จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๐๓๗

๑๙. จารึกเจ้าสี่หมื่นพยาว (วัลี) (พย.๒๗) จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๐๓๘

๒๐. จารึกวัดป่าญะ (พย.๗) จารึกเมื่อพ.ศ.๒๐๓๘

๒๑. จารึกวัดพระคำ (ลพ.๑๐) จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๐๓๙

๒๒. จารึกวัดดุสิตาอาราม (ชร.๖๓) จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๐๓๙

๒๓. จารึกวัดบ้านด่าน (ลป.๖) จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๐๓๙

๒๔. จารึกวัดบ้านปาน (พย.๘๙) จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๐๓๙

๒๕. จารึกหมื่นลอเทพสร้างวัดป่าใหม่ (พย.๘) จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๐๔๐

๒๖. จารึกวัดหมื่นลอ (พย.๕๙) จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๐๔๐

๒๗. จารึกลาวงำเมืองและพญาร่วง (พย.๕๔) จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๐๔๑

๒๘. จารึกการสืบพระพุทธศาสนาในลังกาทวีป (ชร.๔) จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๐๔๑

๒๙. จารึกวัดพญาร่วง (พย.๙) จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๐๔๒

๓๐. จารึกวัดกลางพยาว (ลพ.๓๓) จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๐๔๒

๓๑. จารึกเจ้าหมื่นลอมงคล (พย.๒๘) จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๐๔๓

๓๒. จารึกหัวแสนกัลยากินเมืองพยาว (ลพ.๑๙) จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๐๔๕

๓๓. จารึกมหาสามีเจ้าญาณเทพคุณวัดบ้านดอน (พย.๑๐) จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๐๔๖

๓๔. จารึกเจ้าหัวแสน (พย.๒๙) จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๐๔๗

๓๕. จารึกวัดวิสุทธาราม (ลพ.๒๒) จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๐๔๙

๓๖.จารึกวัดพูปอ (พย.๑๑) จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๐๕๒

๓๗. จารึกเจ้าพันมหาด (พย.๔๙) จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๐๕๓

๓๘. จารึกวัดหนองกวาง (พย.๑) จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๐๕๖

๓๙. จารึกวัดพระเกิด (พย.๑๒) จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๐๕๖

๔๐. จารึกวัดสิบสองห้อง (พย.๑๓) จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๐๕๘

๔๑. จารึกสร้างเจดีย์ (พย.๓๔) จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๐๕๘

๔๒. จารึกเจ้าศรีฯ (พย.๑๖) จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๐๕๙

๔๓. จารึกการบำเพ็ญบุญในวัดสุวรรณาราม (พย.๕๑) จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๐๖๐

๔๔. จารึกวัดควาง (พย.๔๘) จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๐๖๔

๔๕. จารึกวัดมหาเจดีย์หลวง (พย.๑๔) จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๐๖๕

๔๖.จารึกชิ้นส่วนของเสมา (พย.๑๖) จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๐๖๕

๔๗. จารึกการประดิษฐ์พระธาตุ (พย.๒๑) จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๐๖๖

๔๘. จารึกพระเจ้าตนหลวง (ลพ.๒๙) จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๐๖๖

๔๙. จารึกทุ่งสันกะเจาะ จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๐๖๖

๕๐. จารึกการสร้างมหามณฑป (ลพ.๑๒) จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๐๗๘

๕๑. จารึกเจ้าเมืองเชริงฯ (พย.๑๕) จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๐๗๙

๕๒. จารึกวัดบ้านขาม เมืองปัน (พย.๕๕) จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๑๑๓

๕๓. จารึกวัดบ้านยาง (พย.๕๓) จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๑๓๘

๕๔. จารึกคำอธิฐาน (พย.๑๗) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒

๕๕. จารึกคำสาปแช่ง (พย.๑๙) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒

๕๖.จารึกพระรัตนตรัย (พย.๒๐) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒

๕๗. จารึกเจ้าแสนพยาว (พย.๒๒) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑

๕๘. จารึกวัดพุทธศาสน์ (พย.๒๔) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒

๕๙.(พย.๒๕)

๖๐. จารึกคอระฆังหินทราย วัดลี (พย.๓๐) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒

๖๑. จารึกวัดพระเจ้า (พย.๓๑) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒

๖๒. จารึกฐานพระพุทธรูปสำริด วัดเกษศรี (พย.๓๒) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒

๖๓.จารึกแผ่นอิฐร้อยบุญ (พ.ศ.๓๓) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒

๖๔.จารึก (พย.๓๕)

๖๕.จารึก (พย.๓๖)

๖๖. จารึก(พย.๓๗)

๖๗. จารึกวัดพระแก้ว (พย.๓๘) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑

๖๘. จารึกวัดจอยแซ (พย.๓๙) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑

๖๙. จารึกวัดโลกดิลกสังฆาราม (พย.๔๐) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑

๗๐.จารึกฐานพระพุทธรูปซาวหมุกสร้าง (พย.๔๑) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑

๗๑. จารึก (พย.๔๒)

๗๒. จารึก (พย.๔๓)

๗๓. จารึกวัดหนองสระ (พย.๔๐) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒

๗๔. จารึกวัดคามราสี อรัญวาสี (พย.๕๖) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒

๗๕. จารึกวัดเค้าราชสถาน (พย.๕๘) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑

๗๖. จารึกฐานพระพุทธรูปพ่อบุญสร้าง (พย.๖๐) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒

๗๗. จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้าเถรองค์ ๒๖ (พย.๖) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒

๗๘. จารึกฐานพระพุทธรูปพระเจ้าพ่อจน (พย.๖๒) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒

๗๙.จารึกฐานพระพุทธรูปพระพเจ้าเถรอนงค์ (พย.๖๓) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒

๘๐. จารึกฐานพระพุทธรูปสามเจ้าสร้าง (พย.๖๔) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒

๘๑. จารึกฐานพระพุทธรูปพุดเถ้างางสร้าง (พย.๖๕) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒

๘๒. จารึกฐานพระพุทธรูปทีปังกรพ่อหลอมสร้าง (พย.๖๖) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒

๘๓. จารึกรอบฐานสถูปศิลา (พย.๖๗) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒

๘๔. จารึกรอบองค์ระฆังสถูปศิลา (พย.๖๘)

๘๕. จารึกชิ้นส่วนหินทรายวัดห้วย แผ่นที่ ๑ (พย.๖๙) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒

๘๖. จารึกชิ้นส่วนหินทรายวัดห้วย แผ่นที่ ๒ (พย.๖๙) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒

๘๗. จารึกชิ้นส่วนหินทรายสันกู่ห้อ (พย.๗๑) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒

๘๘. จารึกส่วนยอดของใบเสมา (พย.๗๒) จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๐๒๑-๒๐๓๕

๘๙. จารึกดวงชาตาบนส่วนยอดของใบเสมา (พย.๗๓) จารึกเมื่อ พ.ศ.๒๐๔๒

๙๐. จารึกด้านหลังพระพุทธรูปหินทราย (พย.๗๔) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒

๙๑. จารึกฐานพระพุทธรูปพระพุทธตัณหังกร (พย.๗๕) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒

๙๒. จารึกฐานพระพุทธรูปเมียนายร้อยสวนลิสร้าง (พย.๗๖) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒

๙๓. จารึกฐานพระพุทธรูปพระพุทธสรณัง (พย.๗๗) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒

๙๔. จารึกฐานพระพุทธรูปสามหมากม่วงสร้าง (พย.๗๘) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒

๙๕.จารึกฐานพระพุทธรูปเถ้าเอ้ยสร้าง (พย.๗๙) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒

๙๖. จารึกฐานพระพุทธรูปชาวจันสร้าง (พย.๘๐) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒

๙๗.จารึกฐานพระพุทธรูปคำต่อนสร้าง (พย.๘๑) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒

๙๘. จารึกฐานพระพุทธรูปพันชัมหล้าสร้าง (พย.๘๒) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒

๙๙. จารึกตัวเลข (พย.๘๓) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒

๑๐๐. จารึก (พย.๘๔)

๑๐๑. จารึกชิ้นส่วนแผ่นอิฐวัดลี (พย.๘๕) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒

๑๐๒. จารึกลุงพระเจ้า (พย.๘๖) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒

๑๐๓. จารึกยอดเถรเจ้า (พย.๘๗) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒

๑๐๔. จารึกพบที่วัดลี (พย.๘๘) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒

๑๐๕. จารึกมหาเถรเจ้าธรรมทิน (ลพ.๑๑) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑

๑๐๖. จารึกมหาเถรปราสาทเจ้า (ลพ.๓๐) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑

๑๐๗. จารึกมหาสุวัน (เทพมงคลเจ้า) จารึกเมื่อ พุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒

๑๐๘. จารึกวัดมหาพน (๑)

๑๐๙. จารึกวัดมหาพน (๒)

๑๑๐. จารึกวัดมหาพน (๓)

๑๑๑. จารึกวัดมหาพน (๔)

๑๑๒. จารึกวัดมหาพน (๕)