เรื่องที่ 2 พอลิเมอร

พอลิเมอร (Polymer) เปนสารที่สามารถพบไดในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด มีลักษณะเปนโมเลกุลขนาดใหญ ซึ่งเกิดจากโมเลกุลพื้นฐานที่เรียกวา มอนอเมอร (Monomer) จํานวนมากมาสรางพันธะเชื่อมตอกันดวยพันธะโคเวเลนต 1 โดยพอลิเมอรบางชนิดอาจเกิดจากมอนอเมอรที่เปนชนิดเดียวกันทั้งหมดมาเชื่อมตอกัน เชน แปง และพอลิเอทิลีน เปนตน แตในบางชนิดก็อาจเกิดขึ้นจากมอนอเมอรที่แตกตางกันมาเชื่อมตอกันก็ได ตัวอยางเชน พอลิเอสเทอร และโปรตีน เปนตน

ในปจจุบันพอลิเมอรไดเขามามีบทบาทตอการดําเนินชีวิตของมนุษยและกระบวนการอุตสาหกรรมตาง ๆ  อยางมาก โดยตัวอยางของพอลิเมอรที่เปนที่รูจักอยางกวางขวางและมีการใชประโยชนกันมาก ไดแก พลาสติก เสนใยสังเคราะห และยางพารา เปนตน

ประเภทของพอลิเมอร

1. พิจารณาตามแหลงกําเนิด สามารถแบงออกเปน 2 ชนิด คือ

1.1 พอลิเมอรธรรมชาติ (Natural Polymers) เปนพอลิเมอรที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ สามารถพบไดในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ไดแก โปรตีน แปง เซลลูโลส ไกลโคเจนกรดนิวคลีอิกและยางธรรมชาติ เปนตน

1.2 พอลิเมอรสังเคราะห (Synthetic Polymers) เกิดจากการสังเคราะหขึ้นโดยมนุษย ดวยวิธีการนําสารมอนอเมอรจํานวนมากมาทําปฏิกิริยาเคมีภายใตสภาวะที่เหมาะสม ไดแก พลาสติก ไนลอน ดาครอน และลูไซต            เปนตน

2. พิจารณาตามชนิดของมอนอเมอรที่เปนองคประกอบ สามารถแบงออกเปน 2ชนิด คือ

2.1 โฮมอพอลิเมอร (Homopolymer) คือ พอลิเมอรที่ประกอบดวยมอนอเมอรชนิดเดียวกัน เชน แปง ประกอบดวยมอนอเมอรที่เปนกลูโคสทั้งหมด พอลิเอทิลีน หรือ PVC ประกอบดวยมอนอเมอรที่เปนเอทิลีนทั้งหมด            เปนตน

 

 

2.2 โคพอลิเมอร (Copolymer) คือ พอลิเมอรที่เกิดจากมอนอเมอรมากกวา 1 ชนิดขึ้นไป เชน โปรตีน ซึ่งเกิดจากกรดอะมิโนที่มีลักษณะตาง ๆ มาเชื่อมตอกันและพอลิเอสเทอร เปนตน

 





 


3. พิจารณาตามโครงสรางของพอลิเมอร สามารถแบงออกเปน 3 ชนิด คือ

3.1 พอลิเมอรแบบเสน (Chain length polymer) เปนพอลิเมอรที่เกิดจากมอนอเมอรสรางพันธะตอกันเปนสายยาว โซพอลิเมอรเรียงชิดกันมากกวาโครงสรางแบบอื่น ๆ จึงมีความหนาแนน และจุดหลอมเหลวสูง มีลักษณะแข็ง ขุนเหนียวกวาโครงสรางแบบอื่น ๆ ตัวอยางเชน PVC พอลิสไตรีน พอลิเอทิลีน เปนตน แสดงดังภาพ





 

 

 

 

 


  3.2 พอลิเมอรแบบกิ่ง (Branched polymer) เปนพอลิเมอรที่เกิดจากมอนอเมอรมายึดกันแตกกิ่งกานสาขา มีทั้งโซสั้น และโซยาว กิ่งที่แตกจากพอลิเมอรของโซหลักไมสามารถจัดเรียงโซพอลิเมอรใหชิดกันไดมาก จึงมีความหนาแนนและจุดหลอมเหลวต่ํายืดหยุนได ความเหนียวต่ํา โครงสรางเปลี่ยนรูปไดงายเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น              แสดงดังภาพ

 

 





 

 

 

 

 

 

 

 



  3.3 พอลิเมอรแบบรางแห (Croos -linking polymer) เปนพอลิเมอรที่เกิดจากมอนอเมอรมาตอเชื่อมกันเปนรางแห พอลิเมอรชนิดนี้มีความแข็งแกรง และเปราะหักงายตัวอยางเชน เบกาไลต เมลามีน ที่ใชทําถวยชาม แสดงดังภาพ

 

ชนิดของพอลิเมอร

เมื่อพิจารณาการเชื่อมโยงระหวางสายโซโมเลกุล (crosslinking) เราสามารถแบงชนิดของพอลิเมอรไดเปน 3 ชนิด ดังนี้

       1. Thermoplastic polymers เปนพอลิเมอรสายตรงหรือกิ่ง ไมมีการเชื่อมโยงระหวางสายโซโมเลกุล           สงผลใหสายโซโมเลกุลขยับตัวงายเมื่อไดรับแรงหรือความรอน สามารถหลอมและไหลไดเมื่อไดรับความรอน เปนสวนประกอบหลักในพลาสติกออน เชน Polyethylene ในถุงพลาสติก

       2. Elastomers เปนพอลิเมอรที่มีการเชื่อมโยงระหวางสายโซโมเลกุลเล็กนอยซึ่งทําหนาที่ดึงสายโซโมเลกุลกลับมาใหอยูในสภาพเดิม เมื่อปลอยแรงกระทํา

       3. Thermosetting polymers เปนพอลิเมอรที่มีการเชื่อมโยงระหวางสายโซโมเลกุลอยางหนาแนน สงผลใหสายโซโมเลกุลขยับตัวยากเมื่อไดรับแรงหรือความรอน วัสดุที่มีพอลิเมอรชนิดนี้เปนองคประกอบหลัก จึงรับแรงไดดี และไมหลอมเหลวเมื่อไดรับความรอนอยางไรก็ตาม เมื่อความรอนสูงถึงอุณหภูมิสลายตัว (Degradation temperature) วัสดุจะสลายตัวไปเนื่องจากพันธะเคมีแตกหัก พอลิเมอรชนิดนี้เปนสวนประกอบหลักใน

พลาสติกแข็ง เชน ถวยชามเมลามีน หลังคาไฟเบอร เปนตน

พอลิเมอรที่ใชในชีวิตประจําวัน

1. พลาสติก

พลาสติก (Plastic) คือ สารประกอบอินทรียที่สังเคราะหขึ้นเพื่อใชแทนวัสดุจากธรรมชาติสามารถทําใหเปนรูป   ตาง ๆ ไดดวยความรอน พลาสติกเปนพอลิเมอรขนาดใหญมวลโมเลกุลมาก บางชนิดเมื่อเย็นก็แข็งตัว เมื่อถูกความรอนก็ออนตัว บางชนิดแข็งตัวถาวร

สมบัติทั่วไปของพลาสติก

1) มีความเสถียรมากในธรรมชาติ สลายตัวยาก มีมวลนอย และเบา

2) เปนฉนวนความรอนและไฟฟาที่ดี

3) สวนมากออนตัวและหลอมเหลวเมื่อไดรับความรอน จึงเปลี่ยนเปนรูปตางๆ ไดตามประสงค

ประเภทของพลาสติก

พลาสติกแบงออกเปน 2 ประเภท คือ เทอรโมพลาสติก และ เทอรโมเซตติงพลาสติก

       1) เทอรโมพลาสติก (Thermoplastic) หรือเรซิน เปนพลาสติกที่ใชกันแพรหลายที่สุดเมื่อไดรับความรอนจะออนตัว และเมื่อเย็นลงจะแข็งตัว สามารถเปลี่ยนรูปได พลาสติกประเภทนี้มีโครงสรางโมเลกุลเปนโซตรงยาว มีการเชื่อมตอระหวางโซพอลิเมอรนอยมาก จึงสามารถหลอมเหลวใหมได หรือเมื่อผานการอัดแรงมากจะไมสามารถทําลายโครงสรางเดิม ตัวอยางเชน พอลิเอทิลีน โพลิโพรพิลีน พอลิสไตรีน





 

 

 

 

 


โครงสรางของเทอรโมพลาสติก (Thermoplastic)

 

2) เทอรโมเซตติงพลาสติก (Thermosetting plastic) เปนพลาสติกที่มีสมบัติพิเศษ คือ ทนทานตอการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิและทนปฏิกิริยาเคมีไดดี เกิดคราบและรอยเปอนไดยากคงรูปหลังการผานความรอนหรือแรงดันเพียงครั้งเดียว เมื่อเย็นลงจะแข็งมาก ทนความรอนและความดัน ไมออนตัวและเปลี่ยนรูปรางไมได แตถาอุณหภูมิสูงก็จะแตกและไหมเปนขี้เถาสีดําพลาสติกประเภทนี้โมเลกุลจะเชื่อมโยงกันเปนรางแหจับกันแนน แรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุลแข็งแรงมาก จึงไมสามารถนํามาหลอมเหลวใหมได





 

 

 

 

 

 


โครงสรางของเทอรโมเซตติงพลาสติก (Thermosetting plastic)

 

 

ตารางที่ 2.1 แสดงสมบัติบางประการของพลาสติกบางชนิด

ชนิดของ พลาสติก

ประเภทของ พลาสติก

สมบัตบางประการ


ตัวอยางการ นําไปใชประโยชน



สภาพการไหมไฟ

ขอสังเกตอื่น


พอลิเอทิลีน

เทอรโม

พลาสติก

เปลวไฟสีน้ำเงินขอบ

เหลือง กลิ่นเหมือน พาราฟน เปลวไฟไม ดับเอง

เล็บขีดเปน

รอย ไมละลาย ในสารละลาย ทั่วไปลอยน้ำ

ถุง ภาชนะ ฟลม

ถายภาพ ของเลนเด็ก ดอกไม พลาสติก

พอลิโพรพิลีน

เทอรโม

พลาสติก

เปลวไฟสีน้ำเงินขอบ

เหลือง ควันขาว กลิ่นเหมือนพาราฟน

ขีดดวยเล็บ

ไมเปนรอย ไมแตก

โตะ เกาอี้ เชือก

พรม บรรจุภัณฑ อาหาร ชิ้นสวน รถยนต

พอลิสไตรีน

เทอรโม พลาสติก

เปลวไฟสีเหลือง เขมามาก

เปราะ ละลาย ไดในคารบอน

โฟม

อุปกรณไฟฟา

 

 

กลิ่นเหมือนกาซจุด ตะเกียง

เตตระคลอไรด

และโทลูอีน ลอยน้ำ

เลนส ของเลนเด็ก

อุปกรณกีฬา เครื่องมือสื่อสาร

พอลิวินิลคลอ ไรด

เทอรโม พลาสติก

ติดไฟยาก เปลวสี เหลือง ขอบเขียว ควันขาว กลิ่นคลาย กรดเกลือ

ออนตัวได คลายยาง ลอยน้ำ

กระดาษติดผนัง ภาชนะบรรจุ สารเคมี รองเทา กระเบื้องปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟ ทอพีวีซี

ไนลอน

เทอรโม พลาสติก

เปลวไฟสีน้ำเงินขอบ เหลือง กลิ่นคลาย เขาสัตวติดไฟ

เหนียว ยืดหยุน ไมแตก จมน้ำ

เครื่องนุงหม ถุงนองสตรี พรม อวน แห

 

 

ชนิดของ พลาสติก

ประเภทของ พลาสติก

สมบัตบิ  างประการ


ตัวอยางการ นําไปใชประโยชน



สภาพการไหมไฟ

ขอสังเกตอื่น


พอลิยูเรีย ฟอรมาลดีไฮด

เทอรโมเซต ติงพลาสติก

ติดไฟยากเปลวสี เหลืองออน ขอบฟา แกมเขียวกลิ่น แอมโมเนีย

แตกราว จมน้ำ

เตาเสียบไฟฟา วัสดุเชิงวิศวกรรม

อีพอกซี

เทอรโมเซต ติงพลาสติก

ติดไฟงาย เปลวสี เหลือง ควันดํา กลิ่น คลายขาวคั่ว

ไมละลายใน สาร ไฮโดรคารบอน และน้ำ

กาว สี สารเคลือบ ผิวหนาวัตถุ

 

 

 

 

พอลิเอสเทอร

เทอรโมเซต ติงพลาสติก

ติดไฟยาก เปลวสี เหลือง ควันกลิ่นฉุน

ออนตัว ยืดหยุน

เสนใยผา


เทอรโมเซต ติงพลาสติก

ติดไฟยาก เปลวสี เหลือง ควันดํา กลิ่น ฉุน

เปราะ หรือ แข็งเหนียว

ตัวถังรถยนต ตัวถังเรือ ใชบุภายใน เครื่องบิน

 

2. ยางธรรมชาติและยางสังเคราะห

2.1 ยางธรรมชาติ คือวัสดุพอลิเมอรที่มีตนกําเนิดจากของเหลวของพืชบางชนิดซึ่งมีลักษณะเปนของเหลวสีขาว คลายน้ํานม มีสมบัติเปนคอลลอยด 2 อนุภาคเล็ก มีตัวกลางเปนน้ำ

 

ประวัติยางธรรมชาติ

ยางธรรมชาติเปนน้ํายางจากตนไมยืนตน มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งคือยางพาราหรือตนยางพารา ยางพารามีถิ่นกําเนิดบริเวณลุมแมน้ําอเมซอน ประเทศบราซิล และประเทศเปรู ในทวีปอเมริกาใต ซึ่งชาวอินเดียนแดงเผามายัน ในอเมริกากลาง เปนผูนํายางพารามาใชกอนป พ.ศ. 2000 โดยการจุมเทาลงในน้ํายางดิบเพื่อทําเปนรองเทา สวนเผา   อื่น ๆ ก็นํายางไปใชประโยชน ในการทําผากันฝน ทําขวดใสน้ําและทําลูกบอลยาง เพื่อใชเลนเกมสตางๆ เปนตน

จนกระทั่งคริสโตเฟอร โคลัมบัสไดเดินทางมาสํารวจทวีปอเมริกาใต ในระหวางป พ.ศ. 2036- 2039 และไดพบกับชาวพื้นเมืองเกาะเฮติที่กําลังเลนลูกบอลยางซึ่งสามารถกระดอนได ทําใหคณะผูเดินทางสํารวจประหลาดใจจึงเรียกวา "ลูกบอลผีสิง"

การผลิตยางธรรมชาติ

       แหลงผลิตยางธรรมชาติที่ใหญที่สุดในโลกคือ แถบเอเชียตะวันออกเฉียงใตคิดเปนรอยละ 90 ของแหลงผลิตทั้งหมด สวนที่เหลือมาจากแอฟริกากลาง น้ํายางที่กรีดไดจากตนจะเรียกวาน้ํายางสด (field latex) น้ํายางที่ไดจากตนยางมีลักษณะเปนเม็ดยางเล็ก ๆ กระจายอยูในน้ํา มีลักษณะเปนของเหลวสีขาว มีสภาพเปนคอลลอยด มีปริมาณของแข็งประมาณรอยละ 30-40 มีคา pH 6.5-7 มีความหนาแนนประมาณ 0.975-0.980 กรัมตอมิลลิลิตร มีความหนืด 12-15 เซนติพอยส สวนประกอบในน้ํายางสด แบงออกไดเปน 2 สวนคือ

 1) สวนที่เปนเนื้อยาง 35%

       2) สวนที่ไมใชยาง 65% โดยแบงออกเปน สวนที่เปนน้ํา 55% และสวนของลูทอยด 10%

คุณสมบัติของยางธรรมชาติ

 ยางธรรมชาติมีความยืดหยุนสูง มีสมบัติเยี่ยมในดานการเหนียวติดกัน มีคาความทนทานตอแรงดึงสูงมากโดยไมตองเติมสารเสริมแรงมีความทนตอการฉีกขาดสูงมากทั้งที่อุณหภูมิหองและอุณหภูมิสูง มีความตานทานตอการลาและการขัดถูสูง มีความเปนฉนวนไฟฟาสูงมาก ยางดิบละลายไดดีในตัวทําละลายที่ไมมีขั้ว เชน เบนซินเนื่องจากยางดิบไมมีขั้ว และไมทนตอน้ํามันปโตรเลียม แตทนตอของเหลวที่มีขั้ว เชน อะซิโตน หรือแอลกอฮอล นอกจากนี้ยังทนตอกรด และดางออนๆ แตไมทนตอกรดและดางเขมขน ไวตอการทําปฏิกิริยากับออกซิเจน ไมทนตอโอโซน การกระเดงกระดอนสูงอุณหภูมิใชงาน ตั้งแต 55 - 70 องศาเซลเซียส แตหากเก็บไวนานจะทําใหยางสูญเสียความยืดหยุนได

2.2 ยางสังเคราะห

ยางสังเคราะหไดมีการผลิตมานานแลว ตั้งแต ค.ศ. 1940 สาเหตุที่ทําใหมีการผลิตยางสังเคราะหขึ้นในอดีต เนื่องจากการขาดแคลนยางธรรมชาติที่ใชในการผลิตอาวุธยุทโธปกรณและปญหาในการขนสงจากแหลงผลิตในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 จนถึงปจจุบันไดมีการพัฒนาการผลิตยางสังเคราะห เพื่อใหไดยางที่มีคุณสมบัติตามตองการในการใชงานที่สภาวะตาง ๆ เชน ที่สภาวะทนตอน้ํามัน ทนความรอน ทนความเย็น เปนตน

การใชงานยางสังเคราะหสามารถแบงออกเปน 2 ประเภทคือ

1) ยางสําหรับงานทั่วไป (Commodity rubbers) เชน IR (Isoprene Rubber) BR (Butadiene Rubber)

2) ยางสําหรับงานสภาวะพิเศษ (Specialty rubbers) เชน การใชงานในสภาวะอากาศรอนจัด หนาวจัด หรือสภาวะที่มีสัมผัสกับน้ํามัน ไดแก Silicone, Acrylate rubberเปนตน

การใชงานยางสังเคราะห ยางสังเคราะหนั้นเมื่อเทียบสมบัติเฉพาะตัวทางดานเทคนิคกับยางธรรมชาติแลว ยางสังเคราะหจะมีคุณสมบัติที่มีความทนทานตอการขัดถูและการสึกกรอน (Abrasion Resistance) ที่ดีกวามีความเสถียรทางความรอน (ThermalStability) ที่สูงกวาทําใหยางสังเคราะหเสื่อมสภาพไดชากวายางธรรมชาติ ทั้งยังมียาง

สังเคราะหอีกหลายชนิดที่สามารถคงความยืดหยุนไดแมอยูในอุณหภูมิที่ต่ํา สามารถทนตอน้ํามันและจาระบี รวมทั้งยังทนเปลวไฟไดดีซึ่งเหมาะกับการนําไปใชทําเปนฉนวนในอุปกรณอิเล็กทรอนิกสไดดวย ดังนั้น ในปจจุบันยางสังเคราะหจึงไดรับความนิยมมากกวายางธรรมชาติทั้งยังมีหลายชนิดใหเลือกเหมาะกับการใชงาน หลากหลายประเภท ตั้งแตการนํามาใชในอุตสาหกรรมยางรถยนต ใชผลิตเปนเครื่องมือแพทย หรือใชทําชิ้นสวนแมพิมพ และสายพานใน

เครื่องจักร เปนตน

3. เสนใยธรรมชาติและเสนใยสังเคราะห

เสนใย (Fibers) คือพอลิเมอรชนิดหนึ่งที่มีโครงสรางของโมเลกุลสามารถนํามาเปนเสนดายหรือเสนใย จําแนกตามลักษณะการเกิดได ดังนี้

ประเภทของเสนใย

3.1 เสนใยธรรมชาติ ที่รูจักกันดีและใกลตัว คือ เสนใยเซลลูโลส เชน ลินิน ปอเสนใยสับปะรด เสนใยโปรตีน จากขนสัตว เชน ขนแกะ ขนแพะ และ เสนใยไหม เปนเสนใยจากรังไหม

3.2 เสนใยสังเคราะห มีหลายชนิดที่ใชกันทั่วไป คือเซลลูโลสแอซีเตดเปนพอลิเมอรที่เตรียมไดจากการใชเซลลูโลสทําปฏิกิริยากับกรดอซิติกเขมขน โดยมีกรดซัลฟูริกเปนตัวเรงปฏิกิริยา การใชประโยชนจากเซลลูโลสอะซีเตด เชน ผลิตเปนเสนใยอารแนล 60 ผลิตเปนแผนพลาสติกที่ใชทําแผงสวิตชและที่หุมสายไฟ

ผลกระทบของการใชพอลิเมอร

ปจจุบันมีการใชผลิตภัณฑจากพอลิเมอรอยางมากมาย ทั้งในดานยานยนต การกอสราง

เครื่องใช เฟอรนิเจอร ของเลน รวมทั้งวงการแพทย และยังมีแนวโนมที่ใชผลิตภัณฑจากพอลิเมอรมากยิ่งขึ้น เนื่องจากวัสดุ สิ่งของเครื่องใชตางๆ ที่ผลิตจากพอลิเมอรไมวาจะเปนพลาสติก ยาง หรือเสนใย เมื่อใชแลวมักจะสลายตัวยาก ทั้งยังเกิดสิ่งตกคางมากขึ้นเรื่อย ๆ และสารตั้งตนของพอลิเมอรสวนใหญเปนสารประกอบไฮโดรคารบอน ซึ่งเมื่อทําปฏิกิริยากับออกซิเจนและไนโตรเจนไดออกไซดจะเกิดเปนสารประกอบเปอรออกซีแอซิติลไนเตรต (PAN) ซึ่งเปนพิษ ทําใหเกิดการระคายเคืองตาและระบบทางเดินหายใจ และยังทําใหไฮโดรเจนในชั้นบรรยากาศลดลงดวย จะเห็นไดวาผลิตภัณฑพอลิเมอรแมจะมีประโยชนมากมาย แตกอใหเกิดมลภาวะทางสิ่งแวดลอมไดมากมายเชนกัน ทั้งทางอากาศ ทางน้ํา และทางดิน

ผลกระทบจากการใชพอลิเมอรสามารถสรุปไดดังนี้

1) โรงงานอุตสาหกรรมที่ผลิตผลิตภัณฑพอลิเมอรตางๆ มีการเผาไหมเชื้อเพลิงเกิดหมอกควันและกาซคารบอนไดออกไซดซึ่งเปนกาซพิษ นอกจากนี้ไฮโดรคารบอนยังทําใหเกิดสารประกอบออกซีแอวิติลไนเตรต ซึ่งเปนพิษกระจายไปในอากาศ ทําใหสัดสวนของอากาศเปลี่ยนแปลงไป และอุณหภูมิของอากาศเปลี่ยนแปลงไปดวย นอกจากเกิดมลภาวะทางอากาศแลวในกระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรม มักปลอยสารพิษลงสูแหลงน้ํา เชน อุตสาหกรรม พลาสติกปลอยสารพีซีบี (PCB polychlorinated biphenyls) ซึ่งทําใหเกิดผมรวง ผิวหนังพุพอง ออนเพลีย และสารเคมีบางอยางละลายลงในน้ํา ทําใหน้ํามีสมบัติเปนกรด ปริมาณออกซิเจนในน้ําลดลง เปนอันตรายกับสิ่งมีชีวิตในน้ํา

2) การใชผลิตภัณฑพอลิเมอรของผูบริโภค เปนที่ทราบกันวาผลิตภัณฑพอลิเมอรสวนใหญสลายตัวยาก และมีการนํามาใชมากขึ้นทุกวัน ทําใหมีซากเศษผลิตภัณฑมากยิ่งขึ้นเกิดจากการทับถม หมักหมมบนดิน เกิดกลิ่นกาซฟุงกระจาย เพิ่มมลภาวะในอากาศ พื้นดินถูกใชไปในการจัดเก็บซากผลิตภัณฑมากขึ้น ทําใหพื้นที่สําหรับใชสอยลดลง และดินไมเหมาะตอการใชประโยชน เปนมลภาวะทางดินมากขึ้น นอกจากนี้ซากผลิตภัณฑบางสวนถูกทิ้งลงในแหลงน้ํา นอกจากทําใหน้ําเสียเพิ่มมลภาวะทางน้ําแลว ยังทับถมปดกั้นการไหลของน้ํา ทําใหการไหลถายเทของน้ําไมสะดวก อาจทําใหน้ําทวมได

ผลิตภัณฑที่ผลิตจากพอลิเมอรสวนใหญเปนพลาสติก หลังจากใชงานพลาสติกเหลานี้ไปชวงเวลาหนึ่ง มักถูกทิ้งเปนขยะพลาสติก ซึ่งสวนหนึ่งถูกนํากลับมาใชอีกในลักษณะตางๆ กันและอีกสวนหนึ่งถูกนําไปกําจัดทิ้งโดยวิธีการ ตางๆ การนําขยะพลาสติกไปกําจัดทิ้งโดยการฝงกลบเปนวิธีที่สะดวกแตมีผลเสียตอสิ่งแวดลอม ทั้งนี้เพราะโดยธรรมชาติพลาสติกจะถูกยอยสลายไดยากจึงทับถมอยูในดิน และนับวันยิ่งมีปริมาณมากขึ้นตามปริมาณการใชพลาสติก

สวนการเผาขยะพลาสติกก็กอใหเกิดมลพิษและเปนอันตรายอยางมาก วิธีการแกปญหาขยะพลาสติกที่ไดผลดีที่สุดคือ การนําขยะพลาสติกกลับมาใชประโยชนใหม

การนําขยะพลาสติกใชแลวกลับมาใชประโยชนใหมมีหลายวิธี ดังนี้

1) การนํากลับมาใชซ้ำผลิตภัณฑพลาสติกที่ใชแลว สามารถนํากลับมาทําความสะอาดเพื่อใชซ้ำไดหลายครั้งแตภาชนะเหลานั้นจะเสื่อมคุณภาพและลดความสวยงามลง นอกจากนี้ยังตองคํานึงถึงความสะอาดและความปลอดภัยดวย

2) การหลอมขึ้นรูปผลิตภัณฑใหม การนําขยะพลาสติกกลับมาใชใหม โดยวิธีขึ้นรูปเปนผลิตภัณฑใหม เปนวิธีที่นิยมกันมาก แตเมื่อเทียบกับปริมาณของขยะพลาสติกทั้งหมดก็ยังเปนเพียงสวนนอย การนําพลาสติกใชแลวมาหลอมขึ้นรูปใหมเชนนี้ สามารถทําไดจํากัดเพียงไมกี่ครั้ง ทั้งนี้เพราะพลาสติกดังกลาวจะมีคุณภาพลดลงตามลําดับ และตองผสมกับพลาสติกใหมในอัตราสวนที่เหมาะสมทุกครั้ง อีกทั้งคุณภาพของผลิตภัณฑที่ไดจากพลาสติกที่นํากลับมาใชใหมจะต่ํากวาผลิตภัณฑที่ไดจากพลาสติกใหมทั้งหมด

3) การเปลี่ยนเปนผลิตภัณฑของเหลวและกาซ การเปลี่ยนขยะพลาสติกเปนผลิตภัณฑของเหลวและกาซ        เปนวิธีการที่ที่ทําใหไดสารไฮโดรคารบอนที่เปนขยะเหลวและกาซหรือเปนสารผสมไฮโดรคารบอนหลายชนิด ซึ่งอาจใชเปนเชื้อเพลิงโดยตรง หรือกลั่นแยกเปนสารบริสุทธิ์ เพื่อใชเปนวัตถุดิบสําหรับการผลิตพลาสติกเรซินไดเชนเดียวกันกับวัตถุดิบที่ไดจากปโตรเลียม กระบวนการนี้จะไดพลาสติกเรซินที่ที่มีคุณภาพสูงเชนเดียวกัน วิธีการเปลี่ยนผลิตภัณฑพลาสติกที่ใชแลวใหเปนของเหลวนี้เรียกวา ลิควิแฟกชัน (Liquefaction) ซึ่งเปนวิธีไพโรไลซิสโดยใชความรอนสูง ภายใตบรรยากาศไนโตรเจนหรือกาซเฉื่อยชนิดอื่น นอกจากเชื้อเพลิงไดเชนกัน นอกจากนี้ยังอาจมีกาซอื่น ๆ เกิดขึ้นดวย เชน กาซไฮโดรเจนคลอไรดซึ่งใชประโยชนในอุตสาหกรรมบางประเภทได

4) การใชเปนเชื้อเพลิงโดยตรง พลาสติกประเภทเทอรโมพลาสติกสวนมากมีสมบัติเปนสารที่ติดไฟและลุกไหมไดดีจึงใชเปนเชื้อเพลิงไดโดยตรง

5) การใชเปนวัสดุประกอบ อาจนําพลาสติกใชแลวผสมกับวัสดุอยางอื่น เพื่อผลิตเปนผลิตภัณฑวัสดุประกอบที่เปนประโยชนได เชน ไมเทียม หินออนเทียม แตผลิตภัณฑเหลานี้อาจมีคุณภาพไมสูงนักของเหลวแลวยังมีผลิตภัณฑขางเคียงเปนกากคารบอนซึ่งเปนของแข็ง สามารถใชเปนเชื้อเพลิงได สําหรับกาซที่เกิดขึ้นจากกระบวนการไพโรไลซิส คือกาซไฮโดรคารบอน สามารถใชเปน