เรื่องที่ 4 การเลือกใช้สารในชีวิต

สารเคมีในชีวิตประจำวัน

ทุกครัวเรือนจำเป็นต้องใช้ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่มีสารเคมีเป็นส่วนประกอบ ซึ่งได้แก่ ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดห้องน้ำ ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในห้องครัว ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ส่วนบุคคล หรือแม้แต่ยาฆ่าแมลงเป็นต้น คุณเคขหยุดคิดสักนิดบ้างไหมว่าผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่ใช้ภายในบ้านเหล่านี้ประกอบด้วยสารเคมีบางชนิดที่เป็นอันตรายต่อสมาชิกในครอบครัวและสัตว์เลี้ยงที่คุณรัก โดยถ้ำนำไปใช้ เก็บ หรือทำลาย

ทิ้ง อย่างไม่ถูกวิธี อาจเป็นอันตราชต่อสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม หรืออาจติดไฟทำลายทรัพย์สินของคุณได้ อย่างไรก็ตาม ถ้าเรารู้จักใช้ เก็บ          และทิ้งผลิตภัณฑ์เหล่านี้อย่างถูกวิธี เราก็จะสามารถป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นได้และใช้ผลิตภัณฑ์เหล่านี้ได้อย่างปลอดภัย

ทำไมสารเคมีที่ใช้ภายในบ้านจึงเป็นอันตราย

ผลิตภัณฑ์สารเคมีที่ใช้ภายในบ้านมีอันตราย โดขอย่างน้อยมีคุณสมบัติข้อใดข้อหนึ่ง คังนี้เป็นพิษ กัดกร่อน ติดไฟได้ หรือทำปฏิกิริยาที่    

รุนแรงได้ ผลิตภัณฑ์ที่มีสารเคมีที่เป็นอันตรายเป็นส่วนประกอบ ได้แก่ น้ำขาทำความสะอาดทั่วไป ขาฆ่าแมลง สเปรย์ชนิดต่าง ๆ น้ำยาขจัด

คราบไขมัน น้ำมันเชื้อเพลิง สีและผลิตภัณฑ์ที่ถูกทาสีมาแล้ว แบตเตอรี่ และหมึก ผลิตภัณฑ์และสารเคมีต่าง ๆ เหล่านี้ส่วนมากถ้ำได้รับ

หรือสัมผัสในปริมาณที่น้อยคงไม่ก่อให้เกิดอันตรายมากนัก แต่ถ้าได้รับหรือสัมผัสในปริมาณที่มาก หรือในกรณีอุบัติเหตุ เช่น สารเคมีหกรด

ร่างกาย หรือรั่วออกจากภาชนะบรรจุ ก็อาจทำให้เกิดอันตรายถึงชีวิตได้

สิ่งที่ควรปฏิบัติเพื่อให้บ้านของคุณปลอดภัย

1. จัดเก็บผลิตภัณฑ์ต่าง ๆไว้ในที่ที่แห้งและเข็น ห่างจากความร้อน จัดวางบนพื้นหรือชั้นที่มั่นคง และเก็บให้เป็นระบบ ควรแยกเก็บผลิตภัณฑ์ที่มีฤทธิ์กัดกร่อน ติดไฟได้ ทำปฏิกิริยาที่รุนแรงได้หรือเป็นพิษ ไว้บนชั้นต่างหาก และทำความคุ้นเคขกับผลิตภัณฑ์แต่ละชนิด ควรจดจำให้ได้ว่าเก็บไว้ที่ไหน และแต่ละผลิตภัณฑ์มีวัตถุประสงค์ในการใช้อย่างไร เมื่อใช้เสร็จแล้วควรนำมาเก็บไว้ที่เดิมทันที

และตรวจให้แน่ใจว่าภาชนะทุกชิ้นมีฝาปิดที่แน่นหนา ผลิตภัณฑ์บางชนิดอาจเป็นอันตรายได้มากกว่าที่คุณคิด ผลิตภัณฑ์เหล่านี้ได้แก่

- ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดภายในบ้าน เช่น น้ำยาเช็ดกระจก แอมโมเนีย น้ำยาฆ่าเชื้อ น้ำยาทำ

ความสะอาดพรม น้ำขาขัดเฟอร์นิเจอร์ รามทั้งสเปรย์ปรับอากาศ เป็นต้น

- ผลิตภัณฑ์ซักผ้า เช่น ผงซักฟอก น้ำขาปรับผ้านุ่ม น้ำขาฟอกสีค้า เป็นต้น

- ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพและความงาม เช่น สเปรย์ใส่ผม น้ำขาทาเล็บ น้ำยาส้างเล็บ น้ำยากำจัด

ขน น้ำขาข้อมผม เครื่องสำอางอื่น ๆ เป็นต้น

- ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในสวน เช่น ปุ้ย ยากำจัดวัชพืช ยาฆ่าแมลง เป็นต้น

- ผลิตภัณฑ์เพื่อการบำรุงรักษาบ้าน เช่น สีทาบ้าน กาว น้ำขากันซึม น้ำมันล้างสี เป็นต้น

-ผลิตภัณฑ์สำหรับรถยนต์ เช่น น้ำมันเชื้อเพลิง น้ำมันเบรก น้ำมันเครื่อง น้ำยาล้างรถน้ำยาขัดเงา เป็นต้น

2. ผลิตภัณฑ์สารเคมีทุกชนิดต้องมีฉลากและต้องอ่านฉลากก่อนใช้งานทุกครั้ง ผลิตภัณฑ์ที่เป็น

อันตรายควรต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง อ่านฉลากและทำตามวิธี ใช้อย่างถูกต้องรอบคอบ โดยเฉพาะ

อย่างยิ่ง ถ้าฉลากมีคำว่า "อันตราย (DANGERI", "สารพิษ (POISON)", "คำเตือน (WARNING)", หรือ

"ข้อควรระวัง (CAUTION)" โดยมีรายละเอียดอธิบายได้ดังนี้

- อันตราย (DANGER) แสดงให้เห็นว่าควร ใช้ผลิตภัณฑ์ด้วยความระมัคระวังเพิ่มมากขึ้น

เป็นพิเศษ สารเคมีที่ไม่ได้ถูกทำให้เจือจาง เมื่อสัมผัสถูกกับตาหรือผิวหนังโดยไม่ได้ตั้งไจ อาจทำให้

เนื้อเยื่อบริเวณนั้นถูกกัดทำลาย หรือสารบางอย่างอาจติดไฟได้ถ้าสัมผัสกับเปลวไฟ

- สารพิษ (POISON) คือ สารที่ทำให้เป็นอันตราย หรือ ทำให้เสียชีวิต ถ้าถูกดูคซึมเข้าสู่ร่างกาย

ทางผิวหนัง รับประทาน หรือ สุดคม คำนี้เป็นข้อเตือนถึงอันตรายที่รุนแรงที่สุด

- เป็นพิษ (TOXIC) หมาขถึง เป็นอันตราช ทำให้อวัชวะต่าง ๆ ทำหน้าที่ผิดปกติไป หรือ ทำให้

เสียชีวิตได้ ถ้ำาถูกคูดซึมเข้าสู่ร่างกายทางผิวหนัง รับประทาน หรือ สูดดม

- สารก่อความระคายเคือง (IRRITANT) หมายถึง สารที่ทำให้เกิดความระคายเคือง หรืออาการ

บวมต่อผิวหนัง ตา เชื่อบุ และระบบทางเดินหายใจ

- ติดไฟได้ (FLAMMABLE หรือ COMBUSTIBLE)หมายถึง สามารถติดไฟได้ง่าย และมี

แนวโน้มที่จะเผาไหม้ได้อย่างรวดเร็ว

- สารกัดกร่อน (CORROSIVE หมาถึง สารเคมี หรือไอระเหยของสารเคมีนั้นสามารถทำให้

วัสดุถูกกัดกร่อน ผุ หรือสิ่งมีชีวิตถูกทำลายได้

3. เลือกซื้อผลิตภัณฑ์เท่าที่ต้องการ ใช้เท่านั้น อย่าซื้อสิ่งที่ไม่ต้องการ ใช้ เพราะเสมือนกับเป็น

การเก็บสารพิษไ ว้ใกล้ตัวโดยไม่จำเป็น พยายามใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่เดิมให้หมดก่อนซื้อมาเพิ่ม ถ้ามีของ

ที่ไม่จำเป็นต้องใช้แล้วเหลืออยู่ ควรบริจาคให้กับผู้ที่ต้องการใช้ต่อไป หรือไม่ก็ควรเก็บและทำฉลาก   ให้ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อฉลากใกล้หลุดหรือฉีกขาด และควรทิ้งผลิตภัณฑ์ที่เก่ามากๆ ซึ่งไม่ควรนำมาใช้

อีกต่อไป

4. เก็บให้ใกลจากเด็ก สารทำความสะอาด หรือ สารเคมีที่ใช้ภายในบ้านอาจทำให้เป็นอันตราย

ถึงแก่ชีวิต ควรเก็บในตู้ที่เด็กเอื้อมไม่ถึง อาจอคผู้ด้วยถ้จำเป็น สอนเด็กๆในบ้านให้ทราบถึงอันตราย

จากสารเคมื นอกจากนี้ ควรจดเบอร์โทรศัพท์ฉุกเฉินไว้ใกล้กับโทรศัพท์ เบอร์โทรศัพท์เหล่านี้ ได้แก่

เบอร์รถพยาบาลหรือโรงพยาบาลที่ใกล้บ้าน สถานีดับเพลิง สถานีตำรวจ หน่วยงานที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับ

การควบคุมสารพิษ และแพทย์ประจำตัว

5. ไม่ควรเก็บสารเคมีปะปนกับอาหาร ทั้งนี้เนื่องจากสารเคมีอาจหกหรือมีไอระเหยทำให้

ปนเปื้อนกับอาหารได้ และเมื่อใช้ผลิตภัณฑ์สารเคมีเสร็จแล้วควรล้างมือให้สะอาดทุกครั้ง

6. ไม่ควรเก็บของเหลาหรือก๊าซที่ติดไฟใได้1 1ในบ้าน น้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับรถยนต์หรือถัง

บรรจุก๊าซถ้าสามารถทำได้ไม่ควรนำมาเก็บไว้ภายในบ้าน ถังบรรจุก๊าซควรเก็บไว้นอกบ้านในบริเวณ

ใต้ร่มเงาที่มีอากาศถ่ายเทได้สะดวก ต้องไม่เก็บของเหลวหรือก๊าซที่ติดไฟได้ไว้ใกล้กับแหล่งของความ

ร้อนหรือเปลวไฟ และเก็บไว้ในภาชนะบรรจุดั้งเดิมหรือภาขนะที่ได้รับการรับรองแล้วเท่านั้น

7. เก็บสารเคมีไว้ในภาชนะบรรจุดั้งเดิมเท่านั้น ไม่ควรเปลี่ยนถ่ายสารเคมีที่ใช้ภายในบ้านลงใน

ภาชนะชนิดอื่น ๆ ยกเว้นภาชนะที่ติดฉลากไว้อย่างเหมาะสมและเข้ากันได้กับสารเคมีนั้น ๆ โดยไม่ทำ

ให้เกิดการรั่วซึม นอกจากนี้ ไม่ควรเปลี่ยนถ่ายสารเคมีลงในภาชนะที่ ใช้สำหรับบรรจุอาหาร เช่น

ขวดน้ำอัดลม กระป้องนม ขวดนม เป็นต้น เพื่อป้องกันผู้ที่รู้เท่าไม่ถึงการณ์นำไปรับประทาน

8. ผลิตภัณฑ์หลายชนิดสามารถนำไปแปรรูปเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ได้ เพื่อลดปริมาณสารเคมี

ที่เป็นพิษในสิ่งแวดล้อม

9. ใช้ผลิตภัณฑ์อื่นๆ ที่มีอันตรายน้อยกว่าทดแทนสำหรับงานบ้านทั่ว ๆ ไป ตัวอย่างเช่น

สามารถใช้ผงฟู และน้ำส้มสายชูทลงในท่อระบายน้ำ เพื่อป้องกันการอุดตันได้

10. ทิ้งผลิตภัณฑ์และภาชนะบรรจุให้ถูกต้องเหมาะสม ไม่ทผลิตภัณฑ์ลงในดินหรือในท่อระบาย

น้ำทิ้ง ผลิตภัณฑ์หลายชนิดไม่ควรทิ้งลงในถังขยะหรือเทลงใน โถส้วม ควรอ่านฉลากเพื่อทราบวิธีการ

ทิ้งที่เหมาะสมตามคำแนะนำของผู้ผลิต

ทำอย่างไรให้ปลอดภัยขณะใช้สารเคมี

1. เลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่ไม่เป็นพิษแทน

2. อ่านฉลากและปฏิบัติตามวิธีการใช้ทุกครั้ง

3.สวมถุงมือและเสื้อคลุมทุกครั้ง ถ้ผลิตภัณฑ์สามารถทำให้เกิดอันตรายได้โดยการสัมผัส

4. สวมแว่นตาป้องกันสารเคมี ถ้ำผลิตภัณฑ์สามารถทำให้เกิดอันตรายต่อตา

ร. ห้ามสวมคอนแทคเลนส์เมื่อใช้ตัวทำละลายอินทรีย์ เช่น ทินเนอร์ เป็นต้น

6. หยุดใช้ผลิตภัณฑ์ทันทีถ้ารู้สึกวิงเวียน ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน หรือปวดศีรษะ

7. ควรใช้ผลิตภัณฑ์สารเคมีในที่ที่มีอากาศถ่ายเทได้สะดวก ถ้เป็นไปได้ควรใช้ผลิตภัณฑ์

ในที่โล่งแจ้ง

   8. ห้ามสูบบุหรี่เมื่อใช้ผลิตภัณฑ์ที่สามารถติดไฟได้

      9. ห้ามผสมผลิตภัณฑ์สารเคมืเอง เนื่องจากสารเคมีบางชนิดอาจทำปฏิกิริยาต่อกัน เกิดเป็น

ไอควันพิษหรืออาจระเบิดได้

       10. พบแพทย์ทันทีถ้ำสงสัขว่าได้รับสารพิบหรือได้รับอันตรายเมื่อสัมผัสกับสารเคมีที่ใช้

ภายในบ้าน