เรื่องที่ 1 โครงสรง หนาที่และการทำงานของระบบตง ๆ ที่สำคัญของร่างกาย และการดูแลรักษาการปองกัน

        ความผิดปกติของอวัยวะ


รักษาและการปองกันความผิดปกติของระบบอวัยวะ รางกายของมนุษยประกอบขึ้นจากหนวยเล็กที่สุด คือ เซลลจํานวนหลายพันลาน เซลล เซลลที่มีโครงสรางและหนาที่คลายคลึงกันมารวมเปนเนื้อเยื่อ เนื้อเยื่อมีหลายชนิด แตละชนิด เมื่อมาประกอบกันจะเปนอวัยวะ อวัยวะที่ทําหนาที่ประสานสัมพันธกันรวมเรียกวา ระบบในรางกาย มนุษย ประกอบดวยระบบการทํางานทั้งสิ้น 10 ระบบ แตละระบบมีการทํางานที่ประสานสัมพันธกัน กลไกทํางานของรางกายมีการทํางานที่ซับซอน โดยมีระบบประสาทรวมทั้งฮอรโมนจากระบบตอม ไรทอเปนหนวยควบคุมการทํางานของรางกาย

การทํางานของระบบอวัยวะตาง ๆ ของรางกาย ประกอบดวยโครงสรางที่สลับซับซอนยิ่ง กวาเครื่องยนตกลไกที่มนุษยสรางขึ้นเปนอยางมาก ธรรมชาติไดสรางระบบอวัยวะตาง ๆ ของรางกายอยางนา พิศวง พอจําแนกไดเปน 10 ระบบ ซึ่งแตละระบบก็จะทํางานไปตามหนาที่ และมีความสัมพันธตอกันในการ ทํางานอยางวิเศษสุด ระบบอวัยวะตาง ๆ ของรางกายทั้ง 10 ระบบ มีดังนี้

1. ระบบผิวหนัง (Integumentary System)  

2. ระบบโครงกระดูก (Skeletal System)

3. ระบบกลามเนื้อ (Muscular System)

4. ระบบยอยอาหาร (Digestive System)

5. ระบบขับถายปสสาวะ (Urinary System)

6. ระบบหายใจ (Respiratory System)

7. ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)

8. ระบบประสาท (Nervous System)

9. ระบบสืบพันธุ (Reproductive System)

10. ระบบตอมไรทอ (Endocrine System)

ระบบอวัยวะที่จัดวาเปนระบบโครงสรางพื้นฐานของรางกาย คือ ระบบผิวหนัง ระบบโครงกระดูก และระบบกลามเนื้อ ระบบอวัยวะทั้ง 3 มีความเกี่ยวของสัมพันธ กลาวคือ ระบบ ผิวหนังทําหนาที่ปกคลุมรางกาย ซึ่งรวมทั้ง

การหุมหอปองกันอันตรายระบบโครงกระดูกและ กลามเนื้อดวย สําหรับระบบกระดูกทําหนาที่เปนโครงรางของรางกาย เปนที่ยึดเกาะของกลามเนื้อ เมื่อกลามเนื้อหดตัวทําใหรางกายสามารถเคลื่อนไหวสวนตาง ๆ ได ระบบทั้ง 3 นอกจากมีการทํางาน เกี่ยวของกันและตองทํางานประสานกับระบบอื่น ๆ อีกดวย ในชั้นนี้จะกลาวถึงการทํางานของระบบอวัยวะ 4 ระบบ คือระบบผิวหนัง ระบบกลามเนื้อ ระบบ กระดูก และระบบไหลเวียนโลหิต

1.ระบบผิวหนัง ผิวหนังเปนอวัยวะที่หอหุมรางกาย เซลลชั้นบนมีการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญคือ มีเคอราทิน (Keratin) ใสและหนา มีความสําคัญ คือ ปองกันน้ําซึม เขาสูรางกาย การเปลี่ยนแปลงที่ทําใหเกิดเคอราทีน เรียกวา เคอราที-ไนเซซัน (Keratinization) ตัวอยาง อวัยวะที่เกิดกระบวนการดังกลาว เชน ฝามือ ฝาเทา

ผิวหนังประกอบดวย 2 สวน คือ สวนที่อยูบนพื้นผิว เรียกวา หนังกําพรา (Epidermis) สวนที่อยูลึกลงไป เรียกวา หนังแท (Dermis)

1. หนังกําพรา (Epidermis) เปนผิวหนังสวนบนสุด ประกอบดวยเซลลบาง ๆ ตรง พื้นผิวไมมีนิวเคลียส และจะเปนสวนที่มีการหลุดลอกออกเปนขี้ไคล แลวสรางเซลลขึ้นมาทดแทน อยูเสมอสวนตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในชั้นผิวหนังกําพรา ไดแก เล็บมือ เล็บเทา ขน และผม สวนเซลล ชั้นในสุดที่ทําหนาที่ผลิตสีผิว (Melanin) เรียกวา สเตรตัม เจอรมินาทิวัม (Stratum Germinativum)

2. หนังแท (Dermis) ผิวหนังแทอยูใตผิวหนังกําพรา หนาประมาณ 1-2 มิลลิเมตร ประกอบดวย เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน 2 ชั้น คือ

2.1 ชั้นบนหรือชั้นตื้น (Papillary Layer) เปนชั้นที่นูน ยื่นเขามาแทรกเขาไปใน หนังกําพรา เรียกวา เพ็บพิลารี (Papillary) มีหลอดเลือด และปลายประสาทฝอย

2.2 ชั้นลางหรือชั้นลึก (Reticular Layer) มีไขมันอยู มีรากผมหรือขนและตอม ไขมัน (Sebaceous Glands) อยูในชั้นนี้

ความสําคัญของระบบผิวหนัง

1. เปนสวนที่หอหุมรางกาย สําหรับปองกันอันตรายตาง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับอวัยวะ ใตผิวหนัง

2. เปนอวัยวะรับสัมผัสความรูสึกตาง ๆ เชน รอน หนาว

3. เปนอวัยวะขับถายของเสีย เชน เหงื่อ

4. เปนอวัยวะที่ชวยขับสิ่งตาง ๆ ที่อยูในตอมของผิวหนังใหเปนประโยชนตอรางกาย เชน ขับไขมันไปหลอเลี้ยงเสนขนหรือผมใหเงางาม

5. ชวยเปนสวนปองกันรังสีตาง ๆ ไมใหเปนอันตรายตอรางกาย

6. ชวยควบคุมความรอนในรางกายใหคงที่อยูเสมอ รางกายขณะปกติอุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส หรือ 98.7 องศาฟาเรนไฮต หรือถาอากาศอบอาวเกินไปก็จะระบายความรอนออกทาง รูขุมขน

 

การสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพการทํางานของระบบผิวหนัง

 1. อาบน้ําชําระลางรางกายใหสะอาดดวยสบูอยางนอยวันละ 1-2 ครั้ง

2. ทาครีมบํารุงผิวที่มีคุณภาพและเหมาะสมกับผิวของตนเอง ซึ่งตามปกติวัยรุนจะมี ผิวพรรณเปลงปลั่งตามธรรมชาติอยูแลว ไมจําเปนที่จะตองใชครีมบํารุงผิว ยกเวนในชวงอากาศ หนาว ซึ่งจะทําใหผิวแหง แตก

3. ทาครีมกันแดดกอนออกจากบานเมื่อตองไปเผชิญกับแดดรอนจัด เพื่อปองกัน อันตรายจากแสงแดดที่มีรังสีซึ่งเปนอันตรายตอผิวหนัง

4. สวมเสื้อผาที่สะอาดพอดีตัวไมคับหรือหลวมเกินไป และเหมาะสมกับภูมิอากาศ ตามฤดูกาล

5. รับประทานอาหารใหครบทุกหมู และเพียงพอตอความตองการโดยเฉพาะผักและ ผลไม

6. ดื่มน้ําสะอาดอยางนอยวันละ 6-8 แกว น้ําจะชวยใหผิวพรรณสดชื่นแจมใส

7. ออกกําลังกายเปนประจําเพื่อใหรางกายแข็งแรง

8. นอนหลับ พักผอนใหเพียงพออยางนอยวันละ 8 ชั่วโมง

 9. ดูแลผิวหนังอยาใหเปนแผล ถามีควรรีบรักษาเพื่อไมไดเกิดแผลเรื้อรัง เพราะ แผลเปนทางผานของเชื้อโรคเขาสูรางกาย

2. ระบบกลามเนื้อ กลามเนื้อเปนแหลงพลังงานที่ทําใหเกิดการเคลื่อนไหว ในสวนตาง ๆ ของรางกายมี กลามเนื้ออยูในรางกาย 656 มัด เราสามารถสรางเสริมกลามเนื้อใหใหญโต แข็งแรงได ดังเชน นัก เพาะกายที่มีกลามเนื้อใหญโตใหเห็นเปนมัด ๆ หรือนักกีฬาที่มีกลามเนื้อแข็งแรงสามารถปฏิบัติงาน อยางหนักหนวงไดอยางมีประสิทธิภาพ อดทนตอความเมื่อยลา กลามเนื้อประกอบดวยน้ํา 75% โปรตีน 20% คารโบไฮเดรต ไขมัน เกลือแร และอื่น ๆ อีก 5% ความสําคัญของระบบกลามเนื้อ

1. ชวยใหรางกายสามารถเคลื่อนไหวไดจากการทํางาน ซึ่งในการเคลื่อนไหวของ รางกายนี้ ตองอาศัยการทํางานของระบบโครงกระดูกและขอตอตาง ๆ ดวย โดยอาศัยการยืด และหดตัว ของกลามเนื้อ

2. ชวยใหอวัยวะภายในตาง ๆ เชน หัวใจ ปอด กระเพาะอาหาร ลําไสเล็ก ลําไส ใหญ หลอดเลือด ทํางานไดตามปกติและมีประสิทธิภาพ เนื่องจากการบีบรัดตัวของกลามเนื้อของ อวัยวะดังกลาว

3. ผลิตความรอนใหความอบอุนแกรางกาย ซึ่งความรอนนี้เกิดจากการหดตัวของ กลามเนื้อ แลวเกิดปฏิกิริยาทางเคมี

4. ชวยปองกันการกระทบกระเทือนจากอวัยวะภายใน

 5. เปนที่เกิดพลังงานของรางกาย

การสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพการทํางานของระบบกลามเนื้อ ตองไดรับการสรางเสริมบํารุง คือ

1. รับประทานอาหารที่มีประโยชน โดยเฉพาะวัยรุนตองการสารอาหารประเภท โปรตีน แคลเซียม วิตามิน และเกลือแร เพื่อเสริมสรางกลามเนื้อและกระดูกใหแข็งแรงสมบูรณ ควรไดรับอาหารที่ใหสารอาหารโปรตีนอยางนอย 1 กรัม ตอน้ําหนักตัว 1 กิโลกรัมตอวัน และตอง รับประทานอาหารใหครบทุกหมูในปริมาณที่เพียงพอ

2. ดื่มน้ํามาก ๆ อยางนอยวันละ 6-8 แกว เพราะน้ํามีความสําคัญตอการทํางานของ ระบบอวัยวะตาง ๆ

3. ออกกําลังกายเพื่อสรางเสริมความแข็งแรงใหกับกลามเนื้อ อยางนอยสัปดาหละ 3 วัน วันละ 30-60 นาที

4. ปองกันการบาดเจ็บของกลามเนื้อโดยไมใชกลามเนื้อมากเกินความสามารถ

3. ระบบโครงกระดูก มนุษยจะมีรูปรางเหมาะสมสวยงามขึ้นอยูกับกระดูกสวนตาง ๆ ที่ประกอบเปนโครง รางของรางกายเริ่มแรกกระดูกที่เกิดขึ้นเปนกระดูกออนและเปลี่ยนเปนกระดูกแข็งในระยะตอมา โดย มีเลือดไปเลี้ยงและนําแคลเซียมไปสะสมในกระดูก

กระดูกจะเจริญทั้งดานยาวและดานกวาง กระดูกจะยาวขึ้นโดยเฉพาะในวัยเด็ก กระดูกจะยาวขึ้นเรื่อย ๆ จนอายุ 18 ปในหญิงและ 20 ปในชาย แลวจึงหยุดเจริญเติบโต และกลายเปน กระดูกแข็งแรงทั้งหมด สวนการขยายใหญยังมีอยูเนื่องจากยังมีเซลลกระดูกใหมงอกขึ้นเปนเยื่อหุม รอบ ๆ กระดูก กระดูกเปนอวัยวะสําคัญในการชวยพยุงรางกายและประกอบเปนโครงราง เปนที่ยึด เกาะของกลามเนื้อ และปองกันการกระทบกระเทือนตออวัยวะภายในของรางกาย เมื่อเจริญเติบโต เต็มที่จะมีกระดูก 206 ชิ้น แบงเปนกระดูกแกน 80 ชิ้น และกระดูกระยางค 126 ชิ้น กระดูกใหญที่สําคัญ ๆ ประกอบเปนโครงราง ไดแก

 1. กระโหลกศีรษะ (Skull) ประกอบดวย กระดูก 8 ชิ้น

2. กระดูกใบหนา (Face Bone) ประกอบดวยกระดูก 14 ชิ้น

3. กระดูกที่อยูภายในของหูสวนกลาง (Ear Ossicles) ประกอบดวยกระดูก 6 ชิ้น

 4. กระดูกโคนลิ้น (Hyoid Bone) ประกอบดวยกระดูก 1 ชิ้น

5. กระดูกลําตัว (Hyoid of the Trunk) ประกอบดวยกระดูก 26 ชิ้น

6. กระดูกหนาอก (Sternum) ประกอบดวยกระดูก 1 ชิ้น

7. กระดูกซี่โครง (Ribs)ประกอบดวยกระดูก 24 ชิ้น หรือ 12 คู

 8. กระดูกแขนและขา (Appendicular Skeleton) ประกอบดวยกระดูก 126 ชิ้น

ความสําคัญของระบบโครงกระดูก

1. ประกอบเปนโครงราง เปนสวนที่แข็งของรางกาย

2. เปนที่รองรับและปองกันอวัยวะตาง ๆ ของรางกาย

3. เปนที่ยึดเกาะของกลามเนื้อ ทําใหมีการเคลื่อนไหวได

4. เปนที่สรางเม็ดเลือด

5. เปนที่เก็บและจายเกลือแคลเซียม ฟอสเฟต และแมกนีเซียม

6. ปองกันอวัยวะภายในรางกาย เชน ปอด หัวใจ ตับ สมอง และประสาท เปนตน

การสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพการทํางานของระบบโครงกระดูก

1.   รับประทานอาหารใหครบทุกหมูโดยเฉพาะอาหารที่มีสารแคลเซียมและวิตามินดี ไดแก เนื้อสัตว นมและผักผลไมตางๆ รับประทานใหเพียงพอตอความตองการของรางกายเพื่อไป สรางและบํารุงกระดูกใหแข็งแรงสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ

2. ออกกําลังกายเปนประจําสม่ําเสมอจะชวยใหรางกายแข็งแรง กระดูกและ กลามเนื้อที่ไดรับการบริหารหรือทํางานสม่ําเสมอ จะมีความแข็งแกรงมากขึ้น มีการยืดหยุน และ ทํางานไดอยางเต็มที่

3. ระมัดระวังการเกิดอุบัติเหตุกับกระดูก หากไดรับอุบัติเหตุโดยถูกตี กระแทก ชน หรือตกจากที่สูงจนทําใหกระดูกแตกหรือหัก ตองรีบปฐมพยาบาลอยางถูกวิธีและพบแพทย เพื่อให กระดูกกลับสูสภาพปกติและใชงานไดดีอยางปกติ

 4. ระบบไหลเวียนเลือด ระบบไหลเวียนเลือดเปรียบเสมือนระบบการขนสง ทั้งนี้เปนเพราะในระบบ ไหลเวียนเลือด มีเลือดทําหนาที่ลําเลียงอาหารที่ยอยสลายแลว น้ํา กาซ ไปเลี้ยงเซลลตาง ๆ ของ รางกาย และเวลาเลือดไหลเวียนกลับก็จะพาเอาของเสียตาง ๆ ไปยังสวนของรางกายที่ทําหนาที่สง ของเสียเหลานี้ออกมานอกรางกายดวย

ความสําคัญของระบบไหลเวียนเลือด

1. นํากาซออกซิเจน (O2 ) สงไปยังเซลลตาง ๆ ของรางกาย และนํากาซ คารบอนไดออกไซด (CO2 ) จากเซลลเพื่อขับออกนอกรางกายทางลมหายใจ

2. ควบคุมอุณหภูมิภายในรางกายใหอยูในเกณฑปกติ

3. นําน้ําและเกลือแรตางๆ ไปสูเซลลและขับของเสียออกจากรางกายในรูปของปสสาวะ

4. นําแอนติบอดี (Antibody) ไปใหเซลลตาง ๆ เพื่อชวยใหรางกายมีภูมิคุมกันโรค

 5. นําฮอรโมนไปใหเซลลตาง ๆ เพื่อใหรางกายทํางานตอบสนองตอสิ่งเราตาง ๆ ได

 6. นําเอนไซมไปใหเซลลตาง ๆ เพื่อชวยในการเผาผลาญอาหาร

การเสริมสรางและดํารงประสิทธิภาพการทํางานของระบบไหลเวียนเลือด

1. รับประทานอาหารใหครบ 5 หมู และมีปริมาณที่เพียงพอตอความตองการของ รางกาย

 2. ลดปริมาณการรับประทานอาหารที่มีไขมัน และมีสารคอเลสเตอรอล (Cholesterol) สูงเมื่อเขาสูวัยผูใหญ เนื่องจากจะทําใหเกิดไขมันในเลือดสูง เชน กุง ปลาหมึก กะทิ อาหารประเภทผัด ทอด หนังสัตว ไขมันสัตว เปนตน อยางไรก็ตาม สารอาหารประเภทไขมันยัง จัดวาเปนสารอาหารที่จําเปนในวัยเด็กและวัยรุน เพราะไขมันเปนสวนประกอบของโครงสรางผนัง เซลลและเปนแหลงของพลังงาน ดังนั้น วัยรุนควรรับประทานอาหารที่มีไขมันบางในปริมาณที่ เหมาะสมตามขอแนะนําทางโภชนาการ

3. ออกกําลังกายอยางสม่ําเสมออยางนอยสัปดาหละ 3 วัน วันละอยางนอย 30 นาที

 4. ทําจิตใจใหราเริงแจมใส ดูแลสุขภาพจิตของตนเองใหดี

 5. ควรมีเวลาพักผอนบาง ไมหักโหมการทํางานจนเกินไป

 6. ผูใหญควรตรวจวัดความดันเลือดเปนระยะ ๆ และตรวจเลือดเพื่อดูไขมันในเลือด อยางนอยปละครั้ง

 7. งดเวนการสูบบุหรี่ และการดื่มสุรา ตลอดจนสารเสพติดทุกชนิด

8. เมื่อเกิดความผิดปกติเกี่ยวกับระบบไหลเวียนเลือดควรรีบไปพบแพทย์