การเขียนบทที่ 4 ผลการวิเคาระห์ข้อมูล

การเขียนผลการวิจัย

1. การนาเสนอผลการวิจัย และการนาเสนอผลทางสถิติ ดร.กฤษดา เชียรวัฒนสุข © Copy Right 2013

2. การนาเสนอผลการวิจัยและการนาเสนอผลทางสถิติ • โดยทั่วไปในการนาเสนอผลการศึกษา จะจัดทาในบทที่ 4 ทั้งในการ จัดทา การศึกษาอิสระหรือการค้นคว้าอิสระ (Independent Study: IS) และวิทยานิพนธ์ (Thesis) บทที่ 4 ผลการศึกษา ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัย

3. การนาเสนอผลการวิจัยและการนาเสนอผลทางสถิติ • การนาเสนอในส่วนนาของบท จะมีการกล่าวถึงจุดประสงค์ ความมุ่ง หมายในการวิจัย ชื่อเรื่องที่ทา ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ในลักษณะ บรรยายสรุป เพื่อทบทวนให้ผู้อ่านเข้าใจ • ตัวอย่าง การเขียนส่วนนา จากงานวิจัยอื่น (ให้พิจารณาว่า ถูกต้อง เหมาะสม หรือควรปรับปรุง อย่างไร)

4. จากการศึกษาเรื่องความพึงพอใจของบุคลากรที่มีต่อการให้บริการ งานสารบรรณ กองกลาง สานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี ผู้วิจัยได้ทาการเก็บรวบรวมข้อมูลจากบุคลากรที่มาใช้ บริการงานสารบรรณ จานวน 425 ชุด ซึ่งได้แบบสอบถามที่สมบูรณ์ กลับคืนมา 405 ชุด และนามาทาการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์สาเร็จรูป SPSS (Statistic Package for Science for Window) โดย จัดเรียงลาดับการวิเคราะห์ข้อมูล และแปลความหมาย เป็น 3 ส่วน ดังนี้ ส่วนนา

5. ส่วนนา ส่วนที่ 1 ลักษณะทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนที่ 2 ความคิดเห็นของบุคลากรต่อการให้บริการของงาน สารบรรณ กองกลาง สานักงานอธิการบดี ส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะของบุคลากรต่อการให้บริการของงาน สารบรรณกองกลาง สานักงานอธิการบดี

6. การขึ้นต้น ส่วนการวิเคราะห์ผล การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจซึ่งมุ่งศึกษา................. ............................................................................................................. ...........................โดยในการนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลในบทนี้ ผู้วิจัยได้นาเสนอ จำแนกเป็นตอนตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย ดังนี้

7. การขึ้นต้น ส่วนการวิเคราะห์ผล ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจานวน และร้อยละขององค์ประกอบที่เกี่ยวกับ มูลเหตุจูงใจที่มีผลต่อการศึกษาต่อของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียน................ .................................. สังกัด....................................................ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 ดังนี้ ด้านที่ 1 สภาพส่วนตัวของนักเรียน คือ เพศ อายุ ความสมบูรณ์ของครอบครัว จานวนสมาชิกในครอบครัว และจานวนพี่น้องร่วมบิดามารดา ด้านที่ 2 สภาพเศรษฐกิจและสังคมของครอบครัว คือ อาชีพบิดามารดา รายได้ บิดามารดา ด้านที่ 3 สภาพแวดล้อมด้านการเรียน คือ เกรดเฉลี่ยสะสม โดยปรากฏผลการวิเคราะห์ตามที่นาเสนอต่อไปนี้

8. การนาเสนอผลการวิจัยและการนาเสนอผลทางสถิติ โดยภาพรวม ควรประกอบด้วย ส่วนนา จุดประสงค์ ความมุ่งหมายในการวิจัย ชื่อเรื่องที่ทา ประชากรที่ ใช้ในการศึกษา ในลักษณะบรรยายสรุป พื้นที่(ขอบเขต) ในการศึกษา ลักษณะของประชากร/กลุ่มตัวอย่าง ผลการวิเคราะห์ข้อมูลตาม ประเด็นปัญหา (Research Issue) วัตถุประสงค์ (Research Objective) คาถามในการวิจัย (Research Question) สมมติฐาน (Research Hypothesis) ข้อสรุปที่ได้จากการแสดงความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะเพิ่มเติมของ ผู้ให้ข้อมูล (ถ้ามี)

9. การนาเสนอผลการวิจัยและการนาเสนอผลทางสถิติ โดยภาพรวม ควรประกอบด้วย (ต่อ) ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ (กรณีเป็นการวิจัยวิธีผสม) ข้อสรุป ประเด็นสาคัญตามคาถามที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ผลสรุปที่ได้จากการศึกษา (การสัมภาษณ์ การสัมภาษณ์กลุ่มเป้ าหมาย การสังเกต) การวิเคราะห์ผล ข้อเสนอแนะจากผู้ให้ข้อมูล ผลการวิจัยเชิงสรุป ตารางสรุปค่าสถิติที่สาคัญ ตารางสรุปการทดสอบสมมติฐาน การวิเคราะห์กระบวนการวิธีการที่ใช้ในการวิจัย

10. ข้อแนะนาในการนาเสนอ สาหรับข้อมูลที่เป็นตัวเลข ควรมีเสนอเป็นตาราง (หรือแผนภูมิตามความเหมาะสม) โดยจะต้องมีชื่อ กากับ (หากมีที่มาจะต้องระบุให้ชัดเจน) หากเป็นผลการศึกษาที่ได้จากการเก็บรวบรวมข้อมูล ให้นาเสนอให้ กระชับ ไม่เยิ่นเย้อและมีจานวนตารางมากเกินความจาเป็น ควรมีการนาเสนอผลในรูปของตารางไขว้ (Cross Tab) เพื่อลดจานวน ตาราง และสะดวกในการเปรียบเทียบ (ทั้งนี้ไม่จาเป็นต้องทาตาราง สาหรับแต่ละข้อคาถาม) ตารางสรุป ข้อมูลตัวแปรที่สาคัญ (ที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน)

11. ข้อแนะนาในการนาเสนอ สาหรับส่วนบรรยาย จะต้องเลือกนาเสนอข้อมูลที่เป็นสาระ ข้อมูลที่ไม่สาคัญไม่จาเป็นต้องนาเสนอ หรือตัดทิ้งไปบ้าง หรือนาไปไว้ใน ภาคผนวก สาหรับการวิจัยเชิงคุณภาพ การตัดทอนข้อมูลบางส่วน (เช่นบท สัมภาษณ์ทั้งหมด) เป็นวิธีการสาคัญ ที่จะทาให้การวิจัยเชิงคุณภาพ มีเนื้อหาการนาเสนอที่เหมาะสม หากใส่รายละเอียดทั้งหมดลงในรายงาน จะทาให้งานวิจัยไม่มีคุณภาพ และไม่มีเอกภาพ จะสรุปสาระสาคัญไม่ได้

12. การนาเสนอผลทางสถิติ สาหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสองตัวแปร ด้วยวิธี Chi Square Tests พิจารณาตัวแปรต้น (ตัวแปรอิสระ) และตัวแปรตาม การนาเสนอค่าร้อยละ ควรยึดตามกลุ่มของตัวแปรอิสระ พึงระวังการนาเสนอผลที่ได้ จาก SPSS ทั้งนี้เพราะไม่จาเป็นต้อง นาเสนอทุกตารางที่ได้ ในบางครั้งผลที่ได้อาจไม่ถูกต้อง ทั้งนี้เพราะโปรแกรมจะทาตามที่ ใช้คาสั่งโดยการคลิก ซึ่งบางครั้งไม่ถูกต้องตามหลักสถิติ ดังนั้น ผู้วิจัยจะต้องมีความรู้ทางสถิติในการใช้โปรแกรม SPSS

13. การส่งเสริมการผลิตและการเพิ่มผลการผลิต PROM * PROD การส่งเสริมการผลิต PROM Total 1 (ได้) 2 (ไม่ได้) การเพิ่มผลการผลิต PROD 1 Count ไม่เพิ่ม % within PROM 50 25.0 85 42.5 135 33.8 2 Count เพิ่มขึ้นเล็กน้อย % within PROM 65 32.5 65 32.5 130 32.5 3 Count เพิ่มขึ้นมาก % within PROM 85 42.5 50 25.0 135 33.8 Crosstab

14. Chi-Square Tests Value df Asymptotic Sig. ( 2 sided) Pearson Chi Square Likelihood Ratio Linear by Linear Association N of Valid Cases 8.253 6.342 3.516 360 2 2 1 0.012 0.096 0.059 * 0 cell has expected count less than 5 The minimum expected count in more than

15. การส่งเสริมการผลิตและความพึงพอใจต่อเจ้าหน้าที่ PROM * SAT Crosstab การส่งเสริมการผลิต PROM Total 1 (ได้) 2 (ไม่ได้) ความพึงพอใจ SAT 1 Count (ไม่พอใจ) % within PROM 10 5.6 80 44.4 90 25.0 2 Count (พอใจ) % within PROM 70 38.8 90 50.0 160 44.4 3 Count (พอใจมาก) % within PROM 100 55.6 10 5.6 110 30.6

16. Chi-Square Tests Value Df Asymptotic Sig. ( 2 sided) Pearson Chi Square Likelihood Ratio Linear by Linear Association N of Valid Cases 11.582 14.752 0.982 360 2 2 1 0.001 0.003 0.322 * 0 cell has expectedcount less than 5 The minimum expectedcount in more than

17. ตาราง X.X การได้รับการส่งเสริม การเพิ่มผลผลิต และความพึงพอใจต่อเจ้าหน้าที่ ผลของการส่งเสริม การได้รับการส่งเสริม Chi Sq. (Sig.)ได้ (n = 180) ไม่ได้ (n = 180) การเพิ่มผลผลิต ไม่เพิ่ม เพิ่มขึ้นเล็กน้อย เพิ่มขึ้นมาก 25.0 32.5 42.5 42.5 32.5 25.0 8.253 (0.012) ความพึงพอใจต่อเจ้าหน้าที่ ไม่พอใจ พอใจ พอใจมาก 5.6 38.8 55.6 44.4 50.0 5.6 11.582 (.001) หมายเหตุ: ค่าในวงเล็บคือค่าระดับนัยสาคัญ

18. การนาเสนอผลทางสถิติ สาหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสองตัวแปร ด้วยวิธี Chi Square Tests กลุ่มย่อยของตัวแปรต้น (ตัวแปรอิสระ) ไม่ควรมีจานวนน้อยเกินไป (> 30) กลุ่มย่อยของตัวแปรตาม ไม่ควรมีมากเกินไป (ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ จานวนกลุ่มตัวอย่างด้วย) จานวนในกลุ่มย่อย ไม่ควรน้อยกว่า 5 เพราะจะทาให้ผลที่ได้ เชื่อถือ ไม่ได้ 0 cell has expected count less than 5 The minimum expected count in more than

19. การนาเสนอผลทางสถิติ การอ่านผลสาหรับวิธี Chi Square Tests ไม่ควรอ่านทุกตัวเลขที่ปรากฏอยู่ในผล SPSS สรุปเฉพาะสาระสาคัญที่สามารถสื่อความหมายได้ชัดเจน จากผลการวิเคราะห์ พบว่า การส่งเสริมทางการผลิต มีผลอย่างมากต่อการเพิ่มผลผลิต ดัง เห็นได้ว่า ผู้ที่ได้รับการส่งเสริมที่รายงานว่ามีผลผลิตเพิ่มขึ้นมาก มีถึงร้อยละ 42.5 เมื่อ เปรียบเทียบกับกลุ่มที่ไม่ได้การส่งเสริมที่รายงานว่ามีผลผลิตเพิ่มมากขึ้น มีเพียงร้อยละ 25 เท่านั้น สาหรับผลของการส่งเสริมทางการผลิตที่มีต่อความพึงพอใจของเกษตรกรต่อเจ้าหน้าที่จะ เป็นไปในทิศทางที่คาดหวังไว้คือ ผู้ที่ได้รับการส่งเสริมจะมีความพึงพอใจมากต่อเจ้าหน้าที่ถึง ร้อยละ 55.6 เมื่อเปรียบเทียบกับร้อยละ 5.6 ของกลุ่มที่ไม่ได้รับการส่งเสริม

20. ตาราง X.X การได้รับการส่งเสริม การเพิ่มผลผลิต และความพึงพอใจต่อเจ้าหน้าที่ ผลของการส่งเสริม การได้รับการส่งเสริม Chi Sq. (Sig.)ได้ (n = 180) ไม่ได้ (n = 180) การเพิ่มผลผลิต ไม่เพิ่ม เพิ่มขึ้นเล็กน้อย เพิ่มขึ้นมาก 25.0 32.5 42.5 42.5 32.5 25.0 8.253 (0.012) ความพึงพอใจต่อเจ้าหน้าที่ ไม่พอใจ พอใจ พอใจมาก 5.6 38.8 55.6 44.4 50.0 5.6 11.582 (.001) หมายเหตุ: ค่าในวงเล็บคือค่าระดับนัยสาคัญ “จากผลการวิเคราะห์ พบว่า การส่งเสริมทางการผลิต มีผลอย่างมากต่อการ เพิ่มผลผลิต ดังเห็นได้ว่า ผู้ที่ได้รับการส่งเสริมที่รายงานว่ามีผลผลิตเพิ่มขึ้น มาก มีถึงร้อยละ 42.5 เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มที่ไม่ได้การส่งเสริมที่รายงาน ว่ามีผลผลิตเพิ่มมากขึ้น มีเพียงร้อยละ 25 เท่านั้น”

21. ตาราง X.X การได้รับการส่งเสริม การเพิ่มผลผลิต และความพึงพอใจต่อเจ้าหน้าที่ ผลของการส่งเสริม การได้รับการส่งเสริม Chi Sq. (Sig.)ได้ (n = 180) ไม่ได้ (n = 180) การเพิ่มผลผลิต ไม่เพิ่ม เพิ่มขึ้นเล็กน้อย เพิ่มขึ้นมาก 25.0 32.5 42.5 42.5 32.5 25.0 8.253 (0.012) ความพึงพอใจต่อเจ้าหน้าที่ ไม่พอใจ พอใจ พอใจมาก 5.6 38.8 55.6 44.4 50.0 5.6 11.582 (.001) หมายเหตุ: ค่าในวงเล็บคือค่าระดับนัยสาคัญ “สาหรับผลของการส่งเสริมทางการผลิตที่มีต่อความพึงพอใจของเกษตรกรต่อ เจ้าหน้าที่จะเป็นไปในทิศทางที่คาดหวังไว้คือ ผู้ที่ได้รับการส่งเสริมจะมีความ พึงพอใจมากต่อเจ้าหน้าที่ถึงร้อยละ 55.6 เมื่อเปรียบเทียบกับร้อยละ 5.6 ของ กลุ่มที่ไม่ได้รับการส่งเสริม”

22. การนาเสนอผลทางสถิติ สาหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสองตัวแปร ด้วยวิธี การวิเคราะห์ความ แปรปรวน ANOVA พิจารณาตัวแปรต้น (ตัวแปรอิสระ) และตัวแปรตาม การนาเสนอจะต้องอ่านค่าให้ถูกต้องตามหลักสถิติ ไม่จาเป็นต้องนาเสนอทุกตารางที่ได้ ค่าสถิติต่างๆ ที่ได้จากการวิเคราะห์ ไม่ใช่เครื่องประดับงานวิจัย เมื่อนามาเสนอ จะต้องชี้ให้เห็นประโยชน์และความหมายของสถิติ ตัวนั้นๆ

23. One-way ANOVA ANOVA Descriptive Sum of Squares Df Mean Squares F Significance คะแนนความ พึงพอใจ Between Group 798.00 1 798.00 7.824 .005 Within Group 18,156.00 178 Total 18,954.00 179 N Mean Std. Std. Error 95% Confidence for Mean Minimum Maximum Lower Bound Upper Bound คะแนน ความ พึงพอใจ ไม่ได้รับ 180 72.00 13.56 5.45 58.00 86.00 56 95 ได้รับ 180 85.00 7.17 3.17 76.84 83.16 77 97 รวม 360 83.50 13.56 3.20 66.26 79.74 49 97

24. Contrast Tests Test of Homogeneity of Variance Value of contrast Std error T df Sig (2-tailed) ความ พึงพอใจ Assume equal variances Contrast 1 13 5.05 3.65 179 .003 Does not assume equal variances Contrast 1 13 4.51 3.99 125.4 .002 Levene statistics df1 df2 Significance ความพึงพอใจ .534 1 356 .597

25. ตาราง X.X การได้รับการส่งเสริมกับคะแนนความพึงพอใจต่อเจ้าหน้าที่ การได้รับการส่งเสริม N ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบ ไม่ได้รับ 180 72.0 13.56 F = 7.824 ได้รับ 180 85.0 7.17 Sig = .005 รวม 360 83.5 13.56

26. ตาราง X.X การได้รับการส่งเสริม ผลผลิตที่เพิ่มขึ้น และความพึงพอใจต่อเจ้าหน้าที่ ผลผลิตที่เพิ่มขึ้น ความพึงพอใจ การได้รับการส่งเสริม สถิติทดสอบ ไม่ได้รับ ได้รับ ผลผลิตที่เพิ่มขึ้น ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.23 1.01 5.67 1.21 F = 7.125 Sig = .006 ความพึงพอใจ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 72.0 7.17 85.0 13.4 F = 7.824 Sig = .005

27. การนาเสนอผลทางสถิติ ตัวอย่างการสรุปผลจากตาราง สาหรับการวิเคราะห์ความแปรปรวน ANOVA เกษตรกรที่ได้รับการส่งเสริมการผลิตมีความพอใจต่อการ ปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่มากกว่าเกษตรกรที่ไม่ได้รับการส่งเสริม

28. ตาราง X.X การได้รับการส่งเสริมกับคะแนนความพึงพอใจต่อเจ้าหน้าที่ การได้รับการส่งเสริม N ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบ ไม่ได้รับ 180 72.0 13.56 F = 7.824 ได้รับ 180 85.0 7.17 Sig = .005 รวม 360 83.5 13.56 จากตาราง X.X พบว่าเกษตรกรที่ได้รับการส่งเสริมการผลิตมีความพอใจต่อการ ปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่มากกว่าเกษตรกรที่ไม่ได้รับการส่งเสริม......................

29. การนาเสนอผลทางสถิติ ตัวอย่างการสรุปผลจากตาราง สาหรับการวิเคราะห์ความแปรปรวน ANOVA การอ่านผลจากตารางควรใช้ประโยคที่เหมาะสม โดยต้องระมัดระวังการอ่านผล ที่ไม่สื่อความหมายหรือเข้าใจยาก เพราะอาจมีข้อความที่คนทั่วไปอ่านแล้ว เข้าใจยากหรือเกิดความสับสน เช่น เกษตรกรที่ได้รับการส่งเสริมมีผลผลิตเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ย 5.67 เกวียนต่อไร่ และมีค่า เบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.21 เมื่อเปรียบเทียบกับเกษตรกรที่ไม่ได้รับการส่งเสริม มีผลผลิต เพิ่มขึ้นต่อไร่เพียง 1.23 เกวียน และมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.01 ควรนาเสนอการอ่านผลที่สื่อความหมายมากขึ้น เช่น เกษตรกรที่ได้รับการส่งเสริมมีผลผลิตต่อไร่มากกว่าเกษตรกรที่ไม่ได้รับการส่งเสริม ประมาณ 5 เท่าตัว โดยที่การเพิ่มผลผลิตของสมาชิกเกษตรกรในที่ได้รับการส่งเสริม และไม่ได้รับการส่งเสริม จะมีความแตกต่างกันภายในกลุ่มน้อยมาก

30. ตาราง X.X การได้รับการส่งเสริม ผลผลิตที่เพิ่มขึ้น และความพึงพอใจต่อเจ้าหน้าที่ ผลผลิตที่เพิ่มขึ้น ความพึงพอใจ การได้รับการส่งเสริม สถิติทดสอบ ไม่ได้รับ ได้รับ ผลผลิตที่เพิ่มขึ้น ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.23 1.01 5.67 1.21 F = 7.125 Sig = .006 ความพึงพอใจ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 72.0 7.17 85.0 13.4 F = 7.824 Sig = .005 เกษตรกรที่ได้รับการส่งเสริมมีผลผลิตต่อไร่มากกว่าเกษตรกรที่ไม่ได้รับการส่งเสริม ประมาณ 5 เท่าตัว โดยที่การเพิ่มผลผลิตของสมาชิกเกษตรกรในที่ได้รับการ ส่งเสริมและไม่ได้รับการส่งเสริม จะมีความแตกต่างกันภายในกลุ่มน้อยมาก