ผนวก จ.

ลักษณะอาวุธยุทโธปกรณ์ข้าศึก

ผนวก จ.

ลักษณะอาวุธยุทโธปกรณ์ของข้าศึก


๑. อาวุธประจำกายหรืออาวุธเบา

๒. อาวุธประจำหน่วยหรืออาวุธหนัก

๓. ยานรบหุ้มเกราะ

หมายเหตุ รถเกราะ และ รสพ. เหล่านี้.....ตั้งแต่ ปกน. ไปจนถึงจรวดนำวิถีต่อสู้รถถังตามความเหมาะสม

๔. อาวุธหนัก

หมายเหตุ - PT –๗๖ สะเทินน้ำ ความเร็ว ๗๐ กม./ชม. นอกนั้นมีชุดดำน้ำ ลุยข้ามได้ ถ้าดินแข็ง

- มีเครื่องช่วยการยิงในเวลากลางคืนทุกแบบ เว้น PT – ๗๖

๕. เครื่องมือค้นหาเป้าหมายและเฝ้าตรวจสนามรบ

หมายเหตุ ยังมีมาตรการอื่น ๆ อีกมากในการค้นหา ม. นอกระบบ เช่น เครื่องมือตรวจจับด้วยเสียงแบบต่าง ๆ เครื่องมือรบกวน และขัดขวางทางอีเลคโทรนิคหลายแบบหลายชนิด ซึ่งใช้เป็นทั้งเครื่องมือค้นหา ม. และการข่าวกรองทางการสื่อสารด้วย

๙) เครื่องตรวจจับวิทยุ SR – ๕๓ – V จับความถี่สูง ได้ภายใน ๓ ชม.

๑๐) เครื่องตรวจจับวิทยุ SR – ๕๒ – V จับความถี่สูงมาก ได้ภายใน ๒ ชม.

๑๑) เครื่องตรวจจับวิทยุ SR – ๕๑ – V จับความถี่สูงมาก ได้ภายใน ๑๕ นาที

๑๒) เครื่องตรวจจับวิทยุ SR – ๕๐ – M จับความถี่สูงมาก ได้ภายใน ๒ นาที

๑๓) เครื่องหาทิศวิทยุ SR – ๒๕ – V หาทิศความถี่สูงมาก ได้ภายใน ๑๐ นาที

๑๔) เครื่องตรวจจับเรดาร์ SR – ๒๑ – V ตรวจจับเรดาร์ ได้ภายใน ๓๐ นาที

๖. ที่ตั้งเป้าหมายประเภทต่าง ๆ

ก. ระยะจากแนวปะทะถึง ๑ กม.

๑) จรวดต่อสู้รถถังนำวิถี เช่น แซกเกอร์,สแวตเตอร์

๒) รถถัง

๓) รถลำเลียงพลหุ้มเกราะ

๔) ป. ๑๒๒ มม. ลากจูง หรืออัตราจร (ของหน่วยกลยุทธ)

๕) ค. ๘๒ มม. และ ๑๒๐ มม.

๖) ปตถ. ๑๐๐ ม.

๗) ทก.ร้อย ป. (ทำหน้าที่เป็น ศอย. และ ต. ด้วย)

๘) ทก.ต่าง ๆ

๙) ปตอ. ซู ๒๓ – ๔ (ขนาด ๒๓ มม. ๔ ลำกล้อง)

ข. ระหว่าง ๑ – ๓ กม. หลังแนวปะทะ (แนวหน้าข้าศึก)

๑) จรวด ตอ. แซม.๙

๒) จรวดต่อสู่รถถังนำวิถี

๓) รถถัง

๔) รถลำเลียงพลหุ้มเกราะ

๕) เครื่องมือ คปม.ต่าง ๆ เช่น ฐานแสง – เสียง,เรดาร์

๖) เครื่องมือสงครามอีเลคโทรนิคต่าง ๆ เช่น สถานีรบกวนวิทยุและเครื่องหาทิศวิทยุ เป็นต้น

๗) ทก.ต่าง ๆ

ค. ระหว่าง ๓ – ๗ กม. หลังแนวปะทะ

๑) หน่วย ป. ที่จะเข้าทำการรบเกือบทั้งหมด

๒) ระบบการ ปภอ. วางกำลังในทางลึก เช่น แซม ๗,แซม ๙,ปตอ ๑๔๕,๒๓,๔๗ และ ๕๗ มม. เป็นต้น

๓) ป.๑๒๒ มม. ป.๑๕๒ มม. และ ป.๑๓๐ มม.

ง. ระหว่าง ๓ – ๑๒ กม. หลังแนวปะทะ

๑) ป.ทั้งหมดที่เข้าทำการรบ

๒) ระบบ ปภอ. เช่น แซม ๔,แซม ๒, แซม ๖, แซม ๓

๓) ระบบสงครามอีเลคโทรนิค

๔) บก.ต่าง ๆ

๕) จรวด FROG

จ. ระหว่าง ๑๒ – ๓๐ กม. (ปกตอ ม.ต่าง ๆ จะไม่เลย ๓๐ กม.ออกไป)

๑) จรวดต่าง ๆ

๒) ทก.ต่าง ๆ

๓) ระบบ ปภอ.

๔) ระลอกที่ ๒ หรือกองหนุน

๗. บทสรุป

ผตน.ในฐานะเป็น ผปยส. ของกองร้อยกลยุทธย่อมมีหน้าที่ในการเสนอแนะ ผบ.หน่วยเกี่ยวกับขีดความสามารถของอาวุธฝ่ายเราและฝ่ายข้าศึก รวมทั้งวิธีที่จะโจมตีด้วย จึงควรระลึกไว้เสมอว่า ข้าศึกก็มีการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงและพัฒนาของกองทัพของเขา เกี่ยวกับหลักนิยมยุทธวิธี การจัดหน่วยอาวุธยุทโธปกรณ์และแนวความคิดในการกระทำสงครามอยู่ตลอดเวลา ดังนั้นการติดตามการเคลื่อนไหวของฝ่ายตรงข้าม อย่างไม่ลดละและพิจารณาอย่างลึกซึ้งถึงแต่ละเหตุการณ์ที่ได้ทราบ จึงเป็นหนทางเดียวที่จะตามและเตรียมตัวรับมือข้าศึกได้ทันกาล

เป้าหมายของการศึกษาข้าศึกที่แท้จริงนั้นก็เพื่อที่จะทราบเจตนา จุดแข็ง จุดอ่อนและแนวความคิดหรือแบบการปฏิบัติของข้าศึกในแต่ละเหตุการณ์ เมื่อได้ทราบแล้วเราก็จำเป็นที่จะต้องเตรียมตัวหาทางแก้ไข หรือเผชิญกับสิ่งที่เราคาดว่าจะเกิดขึ้น ซึ่งคงไม่พ้นเรื่องเกี่ยวกับการเตรียมกองทัพให้มีกำลังเพียงพอ ฝึกให้พรักพร้อมเหมือนกับที่จะต้องรบจริง ขยายจุดอ่อนของข้าศึกให้ทวีขึ้น เพิ่มจุดแข็งของเราให้แกร่งกล้าที่สุด ใช้ความริเริ่มกระทำการเป็นเบี้ยบนเสมอ และปฏิบัติการอย่างห้าวหาญ เด็ดเดี่ยว ทรหด นั่นคือชัยชนะในการรบ