ผนวก ก.

คุณลักษณะของอาวุธสนับสนุนที่สำคัญ

ผนวก ก.

คุณลักษณะของอาวุธสนับสนุนที่สำคัญ



ก. ปบค. ๑๐๕ มม. เอ็ม. ๑๐๑/เอ็ม.๑๐๒/ปบค.๘๐/๖๑๘

๑) น้ำหนัก ๔๙๘๐/๓๑๔๐/๒๐๐๐ (กก.) / ปอนด์

๒) ระยะไกลสุด ๑๑,๐๐๐ / ๑๑,๕๐๐ / ๑๑,๐๐๐ / ๑๑,๐๐๐ เมตร

๓) เขตส่าย (ซ้าย – ขวา) ๔๐๐ – ๔๐๙ ๖๔๐๐ / ๔๔๕ – ๔๔๕ / มิล

๔) ความเร็วต้นสูงสุด (ซ้าย – ขวา) ๔๗๔ / ๔๗๔ / ๔๗๔ / ๔๗๔ ม./วินาที

๕) อัตราเร็วในการยิง (เหมือนกันทั้ง ๔ ชนิด)

ก) อัตรายิงเร็วสูงสุดใน ๓ นาทีแรก ๑๐ นัด/นาที

ข) ยิงต่อเนื่อง ๓ นัด/ต่อนาที

๖) กระสุน ชนวน เป็นกระสุนกึ่งรวม เว้นแต่กระสุน ตถ. และกระสุนรังผึ้งเป็นกระสุนรวม

ก) ระเบิด เอ็ม.๑ หนัก ๓๓๐ ปอนด์ ชนวนไว,เวลา,วีที.เจาะคอนกรีต

ข) รังผึ้ง เอ็ม.๕๔๖ หนัก ๒๘.๕ ปอนด์ ชนวนเวลา

ค) รบ ตถ. เอ็ม.๖๒๒ หนัก ๒๒.๔ ปอนด์ ชนวนท้ายกระสุน

ง) พตถ. เอ็ม.๓๒๗ หนัก ๒๓.๔ ปอนด์ ชนวนท้ายกระสุน

จ) ควันเอซซี เอ็ม.๘๔ หนัก ๓๒.๙ ปอนด์ ชนวนไว,เวลา

ฉ) ควันขาว เอ็ม.๖๐ หนัก ๓๔.๘ ปอนด์ ชนวนไว,เวลา

ช) เคมีเอซซี เอ็ม.๖๐ หนัก ๓๓.๐ ปอนด์ ชนวนไว,เวลา

ซ) เคมีจีบี เอ็ม.๓๖๐ หนัก ๓๕.๔ ปอนด์ ชนวนไว

ฌ) ส่องแสง เอ็ม.๓๑๔ หนัก ๓๔.๗ ปอนด์ ชนวนเวลา

ญ) ไอซีเอ็ม. เอ็ม.๔๔๔ หนัก ๓๓.๐ ปอนด์ ชนวนเวลา (ระเบิด ๑๘ ลูก)

ฎ) ไอซีเอ็ม เอ็กซ์เอ็ม. ๗๑๐ หนัก ๓๓.๐ ปอนด์ ชนวนเวลา

๗) ความแม่นยำในการยิงเป้าหมาย ตัวอย่าง เอ็ม.๑๐๑,ปบค.๘๐,ปบค.๖๑๘/เอ็ม.๑๐๒

๘) ย่านคาดคะเนทางระยะและทางทิศ ณ ระยะต่าง ๆ เมื่อปรับการยิงและใช้เทคนิคความเร็วต้น+สภาพอากาศ (ม) (ปบค.๑๐๕ มม.)

ระยะ ๓๐๐๐ บจ. ๔ ปรับ ยร.๒๔.๓ ยท. ๑๘.๒ ขอส + ตร. ยร. ๕๑.๙ ยท. ๒๒.๓

ระยะ ๕๐๐๐ บจ.๖ ปรับ ยร. ๒๔.๓ ยท. ๑๘.๒ ขอส. + ตร. ยร. ๖๐.๐ ยท. ๒๔.๓

ระยะ ๗๐๐๐ บจ. ๗ ปรับ ยร. ๒๔.๓ ยท. ๑๘.๒ ขอส. + ตร. ยร. ๗๒.๘ ยท. ๒๙.๐

ระยะ ๙๐๐๐ บจ. ๗ ปรับ ยร. ๒๔.๐ ยท. ๑๘.๒ ขอส. + ตร. ยร. ๙๕.๑ ยท. ๓๕.๑

ระบะ ๑๑๐๐๐ บจ. ๗ ปรับ ยร. ๒๘.๓ ยท. ๑๘.๒ ขอส. + ตร. ยร. ๑๒๐.๗ ยท. ๔๒.๕

ข. ปกค. ๑๕๕ มม. เอ็ม.๑๑๔/๑๙๘/๗๑ (ปนร.๒๐)

๑) น้ำหนัก ๑๒๗๐๐/๑๕๕๐๐/๙๒๐๐ (กก.) ปอนด์

๒) ระยะยิงไกลสุด ๑๔๖๐๐/๒๒๐๐๐/๒๒๐๐ เมตร (กระสุนเอ็ม. ๑๐๗)

๓) เขตส่าย ซ้าย – ขวา ๔๑๘ – ๔๔๘/๔๐๐ – ๔๐๐/๗๔๗ – ๗๔๗ / มิล

๔) ความเร็วต้นสูงสุด ๕๖๕/๘๒๖/๘๒๖ เมตร/วินาที

๕) อัตราเร็วในการยิง (เหมือนกันทั้ง ๓ ชนิด)

ก) อัตรายิงเร็วสูงสุด ๔ นัด/นาที ใน ๓ นัดแรก

ข) อัตรายิงต่อเนื่อง บจ. ๑ – ๗ ๑ นัด/นาที

บจ. ๘,๙,๑๐ ๑ นัด/นาที ภายใน ๑ ชม.

บจ. ๘,๙ ๑ นัด/ ๓ นาที หลังจาก ๑ ชม.ไปแล้ว

๖) กระสุนและชนวน เป็นกระสุนแยกบรรจุ

ก) ระเบิด เอ็ม.๑๐๗ ชนวนไว,เวลา,วีที

ข) ระเบิด จรวดช่วย เอ็ม.๕๔๙ ชนวนไว,วีที (ใช้กับ เอ็ม.๑๑๔ ไม่ได้)

ค) ระเบิดเพิ่มระยะ (เบลเยี่ยม) ชนวนไว,วีที (ใช้กับ เอ็ม.๑๑๔ ไม่ได้)

ง) ไอซีเอ็ม สังหาร เอ็ม. ๔๔๙ ชรวนเวลา (ระเบิด ๖๐ ลูก)

จ) ไอซีเอ็ม สองความมุ่งหมาย เอ็ม.๔๘๓ เอ ๑ ชนวเวลา (ใช้กับ เอ็ม.๑๑๔ ไม่ได้,มีระเบิดสังหาร ๖๔,ตถ.๒๔ ลูก)

ฉ) นำวิถี ตถ.เอ็ฏซ์เอ็ม ๗๑๒ ชนวนไว (ใช้กับ เอ็ม.๑๑๔ ไม่ได้)

ช. เคมีเอซดี เอ็ม. ๑๑๐ ชนวนไว,เวลา,วีที

ซ) เคมีวีเอ็กซ์ เอ็ม.๑๒๑ ชนวนไว,วีที

ฌ) เคมีจีบี เอ็กซ์เอ็ม. ๖๘๗ ชนวนไว

ญ) ควันขาว เอ็ม.๑๑๐ ชนวนไว,เวลา

ฎ) ควันเอซซี เอ็ม.๑๑๖ อี ๑ ชนวนเวลา

ฏ) ส่องแสง เอ็ม.๑๑๘,๔๘๕ ชนวนเวลา

ฐ) ทุ่นระเบิดสังหาร เอ็ม.๖๙๒ เอ็ม.๗๓๑ ชนวนเวลา (ใช้กับ เอ็ม.๑๑๔ ไม่ได้)

ฑ) ทุ่นระเบิดดักรถถัง เอ็ม. ๗๑๘ เอ็ม.๗๔๑ ชนวนเวลา (ใช้กับ เอ็ม.๑๑๔ ไม่ได้)

๗) ความแม่นยำในการยิงเป้าหมายตัวอย่างของ ปกค. เอ็ม.๑๑๔ (สำหรับ ปกค. เอ็ม.๑๙๘ และ เอ็ม.๗๑ หาหลักฐานไม่ได้)

ค. ค.๑๐๗ มม. (๔.๒ นิ้ว)

๑) น้ำหนัก ๖๗๒ ปอนด์

๒) ระยะไกลสุด ๕๕๐๐ เมตร

๓) ระยะใกล้สุด ๘๓๐ เมตร

๔) เขตส่าย ๖๔๐๐ มิล

๕) ความเร็วต้นสูงสุด ๙๖๐ ฟุต/วินาที

๖) อัตราเร็วในการยิง

ก) อัตราเร็วสูงสุด ๑๘ นัด/นาที ใน ๑ นาทีแรก

๙ นัด/นาที ใน ๕ นาทีต่อมา

ข) การยิงต่อเนื่อง ๓ นัด/นาที (หลังจาก ๖ นาทีแรก)

๗) กระสุนหรือลูกระเบิดยิง

ก) ไอซีเอ็มสังหาร เอ็ม.๔๕๓ ชนวนเวลา (ลูกระเบิด ๓๒ ลูก)

ข) ระเบิด เอ็ม. ๓๒๙ เอ.๑ ชนวนไว

ค) ควันขาว เอ็ม.๓๒๘ เอ.๑ ชนวนไว

ง) เคมีเอซ เอ็ม. ๒ ชนวนไว

จ) เคมี เอซดี เอ็ม.๒ เอ.๑ ชนวนไว

ฉ) ส่องแสง เอ็ม.๓๓๘ เอ.๑ และ เอ.๒ ชนวนเวลา

ช) เคมีทางยุทธวิธี เอ็กซ์เอ็ม.๖๓๐ และเอ็ม.๔๕๓ ชนวนเวลา

๘) ความแม่นยำในการยิงเป้าหมายตัวอย่าง

๙) สำหรับย่านคาดคะเนนั้น มีค่าเฉลี่ยในการปรับการยิงทางระยะระหว่าง ๒๘ - ๓๓ เมตร ทางทิศ ๑๘ เมตร ส่วนเมื่อใช้ตัวแก้โดยไม่ต้องปรับทางระยะระหว่าง ๕ – ๗๓ เมตรทางทิศ ๒๒ ถึง ๓๕ เมตร

หมายเหตุ สำหรับ ค.๑๒๐ หาหลักฐานไม่ได้

ง. ขีดความสามารถของการเจาะคอนกรีตด้วยกระสุนระเบิดชนวนเจาะคอนกรีต

จ. ระยะปลอดภัยน้อยสุด สำหรับกระสุนระเบิด

ฉ. คุณลักษณะสำคัญของอาวุธสนับสนุนอื่น ๆ

หมายเหตุ ปถ. เอ็ม. ๔๘ เป็นระยะยิงหวังผลในการเล็งตรง

ช. พื้นที่อันตรายของกระสุน ป., ค. ที่สำคัญ