ผนวก ข.

ตัวอย่างแผนการยิงสนับสนุนแบบต่างๆ

ผนวก ข.

ตัวอย่างแผนการยิงสนับสนุนแบบต่าง ๆ


๑. ตัวอย่างคำสั่งยุทธการของกองพล

ตัวอย่างนี้ซึ่งมีแผนการยิงสนับสนุนในข้อ ๓ สมบูรณ์ในตัวเองไม่ต้องทำเป็นอนุผนวกการยิงสนับสนุนเพิ่มเติมเพื่อขยายความ ส่วนหน่วย ป.จะทำแผนการยิง ป.เพื่อสั่ง การปฏิบัติแก่หน่วยรองหรือไม่แล้วแต่เห็นสมควร

.......................................

(ประเภทเอกสาร)

ฉบับที่ ๓ ใน ๕๐ ฉบับ

กองพลที่ ๔

หล่มสัก (๔๖๙๕) เพชรบูรณ์

๒๘๐๐๐๑ ต.ค. ๒๖

กข. ๑๐๑

คำสั่งยุทธการที่ ๒๑

อ้างถึง แผนที่ประเทศไทย ระวาง............มาตราส่วน ๑: ๕๐,๐๐๐

เส้นเขตเวลา............

การเฉพาะกิจ

ร.๑ ร.๒

ฯลฯ

ร.๓ กองหนุน

ฯลฯ

๑. สถานการณ์

ก. ฝ่ายข้าศึก ผนวก ก. (การข่าวกรอง)

ข. ฝ่ายเรา (เว้น)

ค. หน่วยสมทบและหน่วยแยก (เว้น)

๒. ภารกิจ กองพลจัดหน่วยระวังป้องกันตามแนวชายแดนและตั้งรับในเขตจากพิกัด.......ถึงพิกัด.....

ใน ๓๐๑๒๐๐ ต.ค.

๓. การปฏิบัติ

ก. แนวความคิดในการปฏิบัติ ผนวก ข. (แผ่นบริวารยุทธการ)

๑) กลยุทธ

๒) การยิง ความเร่งด่วนในการยิงสนับสนุนของ ป. สอก. และปืนเรือให้กับ กรม ร.๒ กรมวางแผน การยิงทำลายการเตรียมเป็นเวลา ๑๐ นาที ด้วยกระสุนธรรมดา (ข้อ ๓ จ. การยิงสนับสนุน)

...........................

(ประเภทเอกสาร)

ข. กรม ร. ๑ (เว้น)

ค. ร. ๒ (เว้น)

ง. ร. ๓ (เว้น)

จ. การยิงสนับสนุน

๑) ปืนใหญ่

ก) ทั่วไป

(๑) ความเร่งด่วนในการยิงสนับสนุนให้กับ ร. ๒

(๒) ความเร่งด่วนในการยิงต่อต้าน มีลำดับดังนี้ ต่อต้าน ค. และต่อต้าน ป. ที่มีผลต่อพื้นที่ระวังป้องกัน, พื้นที่การรบโดยใช้ รปจ. ปัจจุบัน

ข) การจัด ป. ทำการรบ

ป. พัน ๔๐ : ชต.ร. ๑ ป.พัน ๘๓ : ชร.พย.ป.พัน ๔๒

ป.พัน ๔๑: ชต.ร. ๒ ป.พัน ๓๐๑ : ชร.พย.ป. พัน ๔๑

ป.พัน ๔๒ : ชต.ร. ๓ ป.พัน ๓๐๒ : ชร.

ป.พัน ๘๑ : พย.ป.พัน ๔๑ บก.พัน.ป. ๘๑ : บก.กรม ป.สำรอง

ป.พัน ๘๒: ชร.พย.ป.พัน ๔๐

ค) คำแนะนำพิเศษ

(๑) ป.พัน ๘๒ ใช้กระสุนไม่เกิน ๕๐% ของอัตรากระสุนที่ใช้ได้ในการ พย.ป.พัน ๔๐

(๒) ความเร่งด่วนในการเลือกและเข้าที่ตั้งตามลำดับดังนี้ ป.พัน ๔๑, ป.พัน ๔๓, ป.พัน ๘๑

(๓) ป.พัน ๔๑ วางแผนการยิงทำลายการเตรียม ให้กับ ป.พัน ๘๑

(๔) ระหว่างการปฏิบัติการของส่วนระวังป้องกัน หน่วยรับการ พย. มีความเร่งด่วนในการของยิงต่อ พัน.ป.ชร.พย. เป็นอันอับแรก

๒) การสนับสนุนทางอากาศใกล้ชิด

ก) ทั่วไป

(๑) ทภ. ได้รับการสนับสนุนทางอากาศ ๑๕๐ เที่ยวบินต่อวัน เริ่มตั้งแต่ ๓๐ ต.ค. – ๗ พ.ย.

(๒) พล.๔ ได้รับการสนับสนุนทางอากาศ ๘๐ เที่ยวบินต่อวัน เพื่อใช้ในการวางแผน

(๓) ความเร่งด่วนอันดับแรกให้กับ ร.๒

ข) การแบ่งมอบเพื่อวางแผน

(๑) ร.๑ : ๑๒ เที่ยวบินต่อวัน

(๒) ร.๒: ๒๘ เที่ยวบินต่อวัน

(๓) ร.๓: ๑๒ เที่ยวบินต่อวัน

.............................................

(ประเภทเอกสาร)

ค) คำแนะนำพิเศษ

(๑) ลูกระเบิดที่ไม่ได้ทิ้งจะนำไปปล่อยใน พยร.ของกองพล โดยประสานกับ สยส. ที่ ศปย. ของกองพล

๓) ปืนเรือ (เว้น)

๔) นิวเคลียร์ (เว้น)

๕) เคมี (เว้น)

๖) คำแนะนำในการประสานการยิงสนับสนุน

ก) สยส.กรมวางแผนการยิงทำลายการเตรียมด้วยกระสุนธรรมดาเป็นเวลา ๑๐ นาที ตารางการยิงให้กับหน่วยที่เกี่ยวข้องก่อน ๓๑๐๖๐๐ ต.ค.

ข) นปยส. ของกองพล พิกัด ๓๐๖๖๐๙ ถึง ๖๖๐๒๖๕ มีผลเมื่อสั่ง

ฉ. ปืนใหญ่ป้องกันภัยทางอากาศ

ช. ทหารช่าง

ฯลฯ

ญ. กองหนุน ฉก. ๑๘๑ และ ฉก. ๑๘๒ เตรียมเข้าปฏิบัติการในพื้นที่ของ ร. ๒ และ ร. ๓ ตามลำดับ

ฎ. คำแนะนำในการประสาน

๑) กรมเตรียมการแยกหน่วยที่ไม่ถูกเข้าตีเพื่อสมทบหน่วยอื่นตามคำสั่ง

๒) กรมเตรียมรับการสมทบ

๔. การช่วยรบ (เว้น)

๕. การบังคับบัญชาและการติดต่อสื่อสาร (เว้น)

ตอบรับ...................

พล.ต...........................................

ผบ.พล ๔

ผนวก :

การแจกจ่าย:

เป็นคู่ฉบับ:

พ.ท..............................................

(............................................)

หน.สธ.๓

................................

(ประเภทเอกสาร)


๒. ตัวอย่างผนวกการยิงสนับสนุนประกอบคำสั่งยุทธการของกองพล

ตามตัวอย่างนี้ในคำสั่งยุทธการของกองพลจะอ้างถึงผนวก การยิงสนับสนุนนี้และถือว่าผนวกนี้คือส่วนหนึ่งของคำสั่งยุทธการ รูปแบบคงใช้ลักษณะเดียวกับคำสั่งยุทธการโดยทั่วไป (ในตัวอย่างสมมุติว่าอยู่ใกล้ชายฝั่งใช้ ป. เรือสนับสนุนได้)

................................

(ประเภทเอกสาร)

ฉบับที่ ๓ ใน ๕๐ ฉบับ

กองพลที่ ๔

หล่มสัก (ซีเอ็กซ์ ๖๐๐๐๖๕)

๒๘๐๐๐๑ ต.ค. ๒๖.....

กข. ๑๐๔

ผนวก ค. (การยิงสนับสนุน) ประกอบคำสั่งยุทธการที่ ๒๒

อ้างถึง : แผนที่ประเทศไทย ระวาง.........มาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐

เขตเวลา ............

๑. สถานการณ์

ก. กำลังฝ่ายข้าศึก ผนวก ก. (การข่าวกรอง)

ข. กำลังฝ่ายเรา (เว้น)

๑) ทภ. ตั้งรับในเขต ๓ กองพลเคียงกัน พล.๗ อยู่ด้านเหนือ พล.๔ อยู่ตรงกลาง พล.๓ อยู่ ด้านใต้

๒) กองพลจัดส่วนระวังป้องกันของตนเอง

๓) กองบิน ๗ สนับสนุน ทภ.๓ ด้วย สอก. ๑๕๐ เที่ยวบินต่อวัน ตั้งแต่ ๓๐ ต.ค. ถึง ๖ พ.ย. ความเร่งด่วนให้กับ พล.๔

๔) การสนับสนุนของ ป.สนาม กรม ป. ๑๐๑ ชร.ทภ.๓

๕) การสนับสนุนด้วยปืนเรือ กร. ๓๖ ให้การสนับสนุน ทภ.๓

ค. หน่วยแยกและหน่วยขึ้นสมทบ

๑) การจัดเฉพาะกิจมีผลบังคับตั้งแต่ ๑ พ.ย.

๒) กรม ป. ๖๑ ขึ้นสมทบ มีผลบังคับ ๒๙๑๐๐๐ ต.ค.

๒. ภารกิจ กรม ป.พล. และอาวุธสนับสนุนทั้งปวงสนับสนุน พล.๔ ด้วยกระสุนธรรมดาและกระสุนพิเศษ การสนับสนุนทางอากาศใกล้ชิดและการสนับสนุนด้วยปืนเรือ

๓. การปฏิบัติ

ก. แนวความคิดในการปฏิบัติ

๑) กลยุทธ กองพลวางกำลังตั้งรับ ๓ กรมเคียงกันโดย ร.๑ อยู่ด้านเหนือ ร.๒ อยู่กลาง และ ร.๓ อยู่ด้านใต้ แต่ละกรมจัดหน่วยระวังป้องกันตนเอง กองหนุนของกองพลเตรียมเข้าปฏิบัติการในพื้นที่ของ ร.๒ และ ร.๓ ตามลำดับ

.................................

(ประเภทเอกสาร)

๒) การยิง ความเร่งด่วนในการยิงสนับสนุนให้กับ ร.๒ ให้มีการวางแผนการยิงทำลายการเตรียม เป็นเวลา ๑๐ นาที

ข. ป.สนาม

๑) ทั่วไป

ก) ความเร่งด่วนในการยิงสนับสนุนให้กับ ร.๒

ข) ความเร่งด่วนในการยิงต่อต้าน ป.คือ ลำดับแรก ค.และ ป. ที่มีผลต่อพื้นที่ระวังป้องกัน ลำดับสอง ค. และ ป. ที่มีผลต่อพื้นที่รบหลัก รปจ. ปัจจุบันมีผลบังคับใช้

๒) การจัด ป.ทำการรบ

ป.พัน.๔๐ (๑๕๕) ชต.ร.๑

ป.พัน.๔๑ (๑๕๕) ชต.ร.๒

ป.พัน.๔๒ (๑๕๕) ชต.ร.๓

ป.พัน.๔๓ (๘ นิ้ว) พย.ป.พัน.๔๑

ป.พัน.๗ (๘ นิ้ว) ชร. – พย.ป.พัน.๔๐

ป.พัน.๑๐๗ (๘ นิ้ว) ชร. – พย. ป.พัน.๔๑

ป.พัน๒๐๗ (๑๗๕) ชร.

บก.และร้อย บก.กรม ป. ๖๑ เป็น บก.กรม ป.สำรอง

๓) คำแนะนำพิเศษ

ก) ป.พัน.๗ ใช้กระสุนในการ พย.ป.พัน.๔๑ ไม่เกิน ๕๐% ของ อกว.

ข) ความเร่งด่วนในการเลือกและเข้าประจำที่ตั้งตาม รปจ.

ค. การสนับสนุนทางอากาศใกล้ชิด

๑) ทั่วไป

ก) ทภ.ได้รับ สอก.๑๕๐ เที่ยวบินต่อวัน เริ่ม ๓๐ ต.ค. ถึง ๖ พ.ย.

ข) พล.๔ ได้รับแบ่งมอบ สอก. ๘๐ เที่ยวบิน เพื่อใช้วางแผน

ค) ความเร่งด่วนให้กับ ร.๒

๒) การแบ่งมอบเพื่อใช้วางแผน

ก) ร.๑ : ๑๒ เที่ยวบินต่อวัน

ข) ร.๒: ๒๘ เที่ยวบินต่อวัน

ค) ร.๓: ๑๒ เที่ยวบินต่อวัน

๓) คำแนะนำพิเศษ

ก) ลูกระเบิดที่ไม่ได้ทิ้งให้นำไปปลดใน พยร.ของกองพล (แผ่นบริวารยุทธการ) โดยประสานกับ สยส.

..............................................

(ประเภทเอกสาร)

ข) ให้วางแผน ๔ เที่ยวบินต่อภารกิจ

ง.การยิงปืนเรือ

๑) ทั่วไป

ก) กร.๓๖ มีเรือ ๒ ลำในการสนับสนุน พล.๔

ข) ความเร่งด่วนในการยิง ให้กับ ร.๒

๒) การแบ่งมอบการสนับสนุนด้วยปืนเรือ

รล.๗๘ (ลาดตระเวน) ชร.พล.๔

รล.๘๕๖ (พิฆาต) ชต.ร.๒

๓) คำแนะนำพิเศษ

ก) ผู้ตรวจการณ์หน้าปืนเรือ (ผตปร.) และนายทหารติดต่อปืนเรือรายงานตัวต่อ หน. สยส. หลักของกองพลก่อน ๒๘๐๙๐๐ ต.ค.

ข) รายงานสถานภาพกระสุนประจำวันเวลา ๐๘๐๐ และ ๑๖๓๐

จ. อาวุธนิวเคลียร์ (เว้น)

ฉ. อาวุธเคมี (เว้น)

ช. คำแนะนำในการประสานการยิงสนับสนุน

๑) สยส. กรมวางแผนการยิงทำลายการเตรียมด้วยกระสุนธรรมดา เป็นเวลา ๑๐ นาที ให้ส่งตารางการยิงไปยังส่วนที่เกี่ยวข้องก่อน ๓๑๐๖๐๐ ต.ค.

๒) นปย. ของกองพล พิกัดโอเอ็กซ์ ๓๐๖๖๐๙ ถึง อีเอ็กซ์ ๖๖๐๒๖๕

๔. การช่วยรบ ผนวก จ. (การช่วยรบ)

๕. การบังคับบัญชาและการสื่อสาร (เว้น)

ก. การสื่อสาร

๑) นปส. ดรรชนี ๑ – ๑๒

๒) วิทยุใช้ลักษณะเฝ้าฟัง

๓) ผนวก ฉ. (การสื่อสาร)

ข. การบังคับบัญชา

สยส. หลักของกองพลพิกัด ๙๖๖๗๙๑ สยส. ยุทธวิธีพิกัด ๙๕๙๗๘๙

ตอบรับ

(ลงชื่อ) พล.ต....................................

เป็นคู่ฉบับ ผบ.พล.๔

พ.ท..........................

(...........................)

หน.สธ.๓

.................................................

(ประเภทเอกสาร)