สายเลือด สายสกุลเจ้าเมืองศรีสะเกษเท่าที่สืบได้ (4)


ลำดับสายสกุล พระภักดีโยธา

สายที่ 1 พระยาวิเศษภักดี (ท้าวโท)


จากบันทึกของสกุลสีหบัณห์ ของคุณยายแสง โกมณเฑียร

รวบรวมโดย คุณปิยะศักดิ์ สุริยุทธ

เรียบเรียงและจัดทำโดย ว่าที่ ร.ต.ชัชวาลย์ คำงาม



ชั้นที่ 8

1. ญาพ่อยกกระบัตร สมรสกับ ญ.ไม่ทราบชื่อ (สกุล จันทมาศ) มีบุตรดังนี้

1.1 ญาพ่อแท่ง (นายอำเภออุทุมพรพิสัย) สมรสกับ ญาแม่บุตรดี ไม่มีบุตร

1.2 ญาแม่คำ สมรสกับ ญาพ่อคำ มีบุตรด้วยกัน ดังนี้

1. นางประครอง สมรสกับ นายประชุม บุญประเสริฐ ไม่มีบุตร

2. นายนคร

1.3 ญาแม่คำดี สมรสกับ ท้าวพูล โสดศิริ

สมรสกับ จ.ส.อ.คำ จันทมาศ มีบุตรด้วยกัน คือ

1. นายชาญ จันทมาศ

2. ญาแม่แท่น สมรสกับ ช.ไม่ทราบชื่อ (สกุล สาระพัฒน์) มีบุตรดังนี้

2.1 ญาแม่อุ่น สมรสกับ ท้าวช่วย มีบุตร คือ

1. นายเทือก อินตะนัย

2.2 ญาแม่บัว สมรสกับ ท้าวหลั่ง ไม่มีบุตร

3. ญาแม่มาศ สมรสกับ ช.ไม่ทราบชื่อ มีบุตรดังนี้

3.1 ญาแม่ผุย สมรสกับ หลวงพลศักดิ์ มีบุตร คือ

1. นางแป๊ะ สมรสกับ ขุนเปรมกิจประชากร (เพ็ชร สารพัฒน์) มีบุตรคือ พ.อ.ประเสริฐ สารพัฒน์

2. ท้าวปี อยู่บ้านสมอ อ.อุทุมพรพิสัย

3.2 ญาแม่แพง สมรสกับ ท้าวยม มีบุตร คือ

1. นางพิมพ์ สมรสกับ นายฮ้อยโค้น

3.3 ญาแม่พันธ์ สมรสกับ ท้าวหน่อม มีบุตร คือ

1. นางกา

3.4 ญาแม่ทอน สมรสกับ ท้าวเพ็ง ไม่มีบุตร

3.5 ขุนพิเคราะห์คดี (อินทร์ อินตะนัย)[10] สมรสกับ แม่หล่อม ไม่มีบุตร

3.6 ท้าวเฮียว สมรสกับ แม่อ่อน มีบุตร คือ

1. นางหวาด สมรสกับ แพทย์จำเนียร วรโพธิ์ มีบุตรดังนี้

1.1 นางแต้ว สมรสกับ นายปกครอง นิลบุตร

1.2 นางระวิวรรณ สมรสกับ น.ท.มงคล ธรรมสิริ มีบุตรคือ น.ส.อัจฉรา, นายมารุต, นายดนุชา

1.3. นายวีระพงษ์ วรโพธิ์

4. ญาแม่ดวง สมรสกับ ช.ไม่ทราบชื่อ มีบุตรดังนี้

4.1 แม่ดี สมรสกับ ท้าวบุญมา ไม่มีบุตร

4.2 แม่เหลื่อม สมรสกับ ท้าวโสม มีบุตร คือ

1. นายสร้อย สุนทรา สมรสกับ นางเหง้า มีบุตรคือ นายวาน สุนทรา ครู อ.กันทรลักษณ์

4.3 แม่คำ สมรสกับ ท้าวอาจ (นายฮ้อยช้าง) ไม่มีบุตร

4.4 แม่สุข สมรสกับ ท้าวเพือน (พัน) มีบุตร คือ

1. นางสอน กาละทอน สมรสกับ นายพรหม ดวงจิต

2. นายฝั่ง สุวรรณวิเศษ

ท้าวพัน สมรสครั้งแรกกับ นางสิม มีบุตร คือ

1. นายจันทร์ สุวรรณวิเศษ อดีตผู้ช่วยสรรพากรจังหวัดนครพนม




-----------------------------------

[10] จังหวัดศรีสะเกษเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ครั้งแรกในปี พ.ศ.2476 เป็นการเลือกตั้งโดยอ้อม คือ มีการเลือกผู้แทนตำบลไปเลือกผู้แทนราษฎรอีกต่อหนึ่ง โดย ขุนพิเคราะห์คดี (อินทร์ อินตะนัย) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนฯของจังหวัดศรีสะเกษคนแรก (หนังสือ : วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญาจังหวัดศรีสะเกษ. 2544: 45)