เรื่องที่ 5 การพัฒนาภาวะผู้นำ - ผู้ตาม 

             ผู้นำและภาวะผู้นำ หมายถึง บุคคลที่ได้รับการแต่งตั้ง หรือได้รับการยกย่องให้เป็นผู้ตัดสินใจ และสามารถนำพาสมาชิกในกลุ่มร่วมมือกันปฏิบัติภารกิจด้วยความเต็มใจ จริงใจ เพื่อให้ภาระงานลุล่วงไปด้วยดี

             ลักษณะของผู้นำที่ดี ประกอบด้วย

คุณสมบัติของผู้นำที่ดี

             ผู้นำที่ดีควรจะประกอบด้วยคุณสมบัติที่สำคัญ ดังนี้

ผลประโยชน์แห่งตน โดยที่คนอื่นกลับเสียประโยชน์ ซึ่งก็หมายความว่าเป็นการข่มขืนหรือ บังคับ ความโลภ ความหลงและความอยากได้ของตนเอง คนที่ไม่เห็นแก่ตัวนั้นย่อมเป็นคนที่มี ความซื่อสัตย์ สุจริต ตรงไปตรงมาและไม่ทำลายผู้อื่น

11. มีความตื่นตัว ความตื่นตัว คือ ความระมัดระวัง ความสุขุมรอบคอบ ความ

ไม่ประมาท ไม่ยืดยาด ทำอะไรทันทีทันควันและมีความว่องไวปราดเปรียวอยู่เสมอ

12. มีความชั่งใจ (ดุลพินิจ) คือ อำนาจแห่งความคิดที่สามารถพิจารณาสิ่งต่าง ๆ

หรือเหตุต่าง ๆ อย่างถูกต้อง โดยชั่งน้ำหนักเหตุผลนั้น ๆ และสรุปเป็นข้อ ๆ ลงความเห็นหรือ ข้อตกลงใจอันเฉียบแหลม

13. มีความสงบเสงี่ยม ความสงบเสงี่ยม คือ ความไม่หยิ่งยโส จองหองและไม่มี

ความภูมิใจในสิ่งที่ไร้เหตุผล

14. มีความเห็นอกเห็นใจ ความเห็นอกเห็นใจ คือ คุณสมบัติประจำตัวอันเป็น

แบบอย่างของมนุษย์ คือต้องประกอบด้วยความเมตตาปราณี ความกรุณา ความสงสาร ความเห็นอกเห็นใจผู้อื่นในลักษณะที่ไม่เสียผลประโยชน์ของส่วนรวม อันเป็นการแบ่งเบา ความรู้สึกของผู้ที่อยู่ร่วมกัน

15. มีความจงรักภักดี ความจงรักภักดี คือ สภาพหรือคุณสมบัติประจำตัวของ

การเป็นบุคคลที่ซื่อสัตย์สุจริตและซื่อตรงต่อผู้อื่น ต่อหน้าที่ ต่อรัฐนั่นเอง การเป็นผู้นำนั้น จำเป็นต้องมีความจงรักภักดีต่อหมู่คณะหรือส่วนรวม ทั้งนี้เพื่อความไว้วางใจ

16. มีการสังคมที่ดี การสังคมที่ดี คือ การมีบุคลิกภาพที่จะเข้าสังคมได้อย่าง

ถูกต้อง หมายความว่า การที่เราเป็นผู้นำที่ดีนั้นจะต้องปรับตัวเองให้คบค้าสมาคมกับเพื่อน มนุษย์ด้วยกันอย่างถูกต้องแนบเนียน และต้องพยายามศึกษาปรับตนให้เข้ากับสังคมต่าง ๆ ที่เราจะไปติดต่อให้ได้และถูกต้องอีกด้วย

17. มีการบังคับตนเอง การบังคับตนเอง คือ การบังคับจิตใจโดยผ่านทางอารมณ์

ซึ่งรับมาจากประสาททั้ง 5 เพื่อมิให้แสดงออกซึ่งกิริยาอาการต่าง ๆ ที่ไม่เหมาะสมแก่ผู้อื่นได้  การบังคับตนเองนั้นนับว่าเป็นสิ่งสำคัญมากของผู้นำ เพราะตลอดเวลาผู้นำมักจะเป็นเป้าสายตา ของผู้ร่วมงานอยู่เสมอ

 

             ผู้ตาม และภาวะผู้ตาม 

       ผู้ตาม  หมายถึง ผู้ปฏิบัติงานในองค์การที่มีหน้าที่และความรับผิดชอบที่จะต้อง รับคำสั่งจากผู้บังคับบัญชามาปฏิบัติให้สำเร็จบรรลุวัตถุประสงค์     

คุณลักษณะพฤติกรรมของผู้ตาม 5 แบบมีดังนี้