กระเจี๊ยบเขียว

กระเจี๊ยบแดง

กระชาย

กระดุมทองเลื้อย

กระถิน

กระถินณรงค์

กระพี้จั่น

กล้วย

กล้วยไม้แวนด้า

กล้วยไม้สกุลช้าง

กล้วยไม้สกุลหวาย

กะเพรา

กาแฟ

กุหลาบ

เก๊กฮวย

เกล็ดแก้ว

แก้ว

โกสน

โกสนตรีน้ำตก

ขนุน

ขมิ้น

ข่า

ขิง

ขี้เหล็ก

เข็ม

เข็มขาว

คุณนายตื่นสาย

คริสติน่า

คำมอกน้อย

เงินไหลมา

จอก

จั๋ง

ชงโค

ชบา

ชมนาด

ชวนชม

ชะอม

ชาฮกเกี้ยน

เชียงดา

ซองออฟอินเดีย

ดาวกระจาย

ดาวเรือง

แดง

ตะขบ

ตะไคร้

ตะแบก

ตาลฟ้า

ติ้วขน

เต็ง

เตยหอม

เต่าร้าง

เทียนทอง

ไทร

ไทรเกาหลี

น้อยหน่า

บอนสี

บานชื่น

บานบุรี

บานไม่รู้โรย

ปรงเขาชะเมา

ประดู่

ปาล์มหางกระรอก

ปีบ

โป๊ยเซียน

ผักไชยา

ไผ่

ไผ่รวก

ฝรั่ง

แฝก

พลวง

พลับพลึง

พวงชมพู

พุดกังหัน

พุดซ้อน

พุทธรักษา

พู่จอมพล

เพกา

แพงพวย

แพรเซี่ยงไฮ้

โพธิ์

ฟ้าทะลายโจร

ฟิโลเดดรอนสีทอง

เฟินใบมะขาม

เฟื่องฟ้า

มะกรูด

มะขาม

มะขามเทศ

มะขามป้อม

มะนาว

มะเฟือง

มะม่วง

มะม่วงหิมพานต์

มะยม

มะละกอ

มะลิ

มิกกี้เมาส์

โมก

ยางพารา

ยูคาลิปตัส

รัก

รำเพย

ลำโพง

ลำไย

ลิ้นมังกร

ลีลาวดี

เล็บครุฑกระจก

เล็บครุฑผักชี

เล็บครุฑลังกา

เล็บมือนาง

ว่านหอยแครง

ว่านหางจระเข้

วาสนา

เศรษฐีเรือนนอก

สน

สนแผง

สนมังกร

ส้ม

ส้มป่อย

สัก

สับปะรดสีนีโอเรเจเลีย

สารภี

สาวน้อยประแป้ง

สิบสองปันนา

เสมา

เสลา

หญ้านวลน้อย

หญ้ามาเลเซีย

หม่อน

หมากนวล

หมากเหลือง

หว้า

หัวใจม่วง

หางนกยูง

หูกวาง

หูปลาช่อน

เหงือกปลาหมอ

เหมือดโลด

โหระพา

อโศกอินเดีย

อะราง

อัญชัน

อากาเว่

อินทนิลน้ำ

เอื้องหมายนา

ไอริสน้ำ

เพกา

รหัสพันธุ์ไม้ : 7-58000-002-088

สถานที่พบ : ข้างอาคารเจ้าฟ้าอุปถัมภ์


ชื่อวิทยาศาสตร์ : Oroxylum indicum (L.) Kurz

ชื่อวงศ์ : BIGNONIACEAE

ชื่อสามัญ :

ชื่ออื่นๆ : ดอก๊ะ, ด๊อกก๊ะ, ดุแก (กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน), มะลิดไม้, มะลิ้นไม้, ลิดไม้ (ภาคเหนือ), หมากลิ้นก้าง, หมากลิ้นช้าง(เงี้ยวภาคเหนือ), กาโด้โด้ง(กะเหรี่ยงกาญจนบุรี), ลิ้นฟ้า(เลย)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น ขนาดเล็ก ผลัดใบ สูงประมาณ 4 - 15 เมตร เปลือกต้นเรียบสีน้ำตาลครีมอ่อนหรือสีเทา บางทีแตกเป็นรอยตี้นเล็กน้อย มีรูระบายอากาศกระจัดกระจายตามลำต้นและกิ่งก้าน

  • ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก 3 - 4 ชั้น ออกเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก หนาแน่นบริเวณปลายกิ่ง มีใบเดี่ยวๆ ขนาดใหญ่ที่ปลายก้านลักษณะรูปทรงกลม ปลายใบเรียวแหลม โคนใบมน ก้านใบยาว ใบย่อยลักษณะรูปไข่ โคนใบมน ปลายใบเรียวแหลม ขอบใบเรียว ออกตรงข้ามชิดกันอยู่ประมาณปลายกิ่ง ก้านใบย่อยสั้น แผ่นใบสีเขียวเข้ม

  • ดอก ออกดอกเป็นช่อแบบช่อกระจุก ช่อมีขนาดใหญ่ออกที่บริเวณยอด มีก้านช่อดอกยาว มีดอกย่อยขนาดใหญ่ ลักษณะรูปปากเปิดแบบสมมาตรด้านข้างกลีบดอกหนา มี 5 กลีบ ภายนอก สีม่วงแดงหรือน้ำตาลคล้ำ ภายในสีเหลืองเปรอะๆ กึ่งสีชมพู โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นรูปลำโพง ส่วนปลายแยกออกเป็นกลีบย่นขยุกขยิก บริเวณปลายกลีบดอกด้านในสีขาวอมเหลือง หรือขาวอมเขียว มีเกสรตัวผู้ 5 อันติดกับท่อดอก โคนก้านจะมีขน

  • ผล ผลเป็นฝักแบน ยาวคล้ายรูปดาบ ห้อยระย้าอยู่เหนือเรือนยอด สีน้ำตาลดำ ยาวประมาณ 45 - 120 เซนติเมตร เมื่อแก่จะแตกออกเป็น 2 ซีก

  • เมล็ด ลักษณะแบน มีปีกบางใสสีขาวจำนวนมาก

ประโยชน์ : ใบรสฝาด ใช้ต้มดื่มแก้อาการปวดท้อง แก้ปวดข้อ และเจริญอาหาร เปลือกต้นรสฝาดขมเย็น เป็นยาฝาดสมานแผล ดับพิษโลหิต แก้น้ำเหลืองเสีย แก้ฟกช้ำ ป่นเป็นผงหรือยาชงดื่มแก้ขับเหงื่อ แก้ไขข้ออักเสบชนิดฉับพลัน ช่วยเจริญอาหาร ผงเปลือกผสมกับขมิ้นชันเป็นยาแก้โรคปวดหลังของม้า ผลแก่หรือฝักแก่รสขม แก้ร้อนในกระหายน้ำ



อ้างอิง : คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. (2552). ข้อมูลพืชสมุนไพร. สืบค้น 26 มกราคม 2565, จาก http://pharmacy.su.ac.th/herbmed/herb/text/herb_detail.php?herbID=161