กระเจี๊ยบเขียว

กระเจี๊ยบแดง

กระชาย

กระดุมทองเลื้อย

กระถิน

กระถินณรงค์

กระพี้จั่น

กล้วย

กล้วยไม้แวนด้า

กล้วยไม้สกุลช้าง

กล้วยไม้สกุลหวาย

กะเพรา

กาแฟ

กุหลาบ

เก๊กฮวย

เกล็ดแก้ว

แก้ว

โกสน

โกสนตรีน้ำตก

ขนุน

ขมิ้น

ข่า

ขิง

ขี้เหล็ก

เข็ม

เข็มขาว

คุณนายตื่นสาย

คริสติน่า

คำมอกน้อย

เงินไหลมา

จอก

จั๋ง

ชงโค

ชบา

ชมนาด

ชวนชม

ชะอม

ชาฮกเกี้ยน

เชียงดา

ซองออฟอินเดีย

ดาวกระจาย

ดาวเรือง

แดง

ตะขบ

ตะไคร้

ตะแบก

ตาลฟ้า

ติ้วขน

เต็ง

เตยหอม

เต่าร้าง

เทียนทอง

ไทร

ไทรเกาหลี

น้อยหน่า

บอนสี

บานชื่น

บานบุรี

บานไม่รู้โรย

ปรงเขาชะเมา

ประดู่

ปาล์มหางกระรอก

ปีบ

โป๊ยเซียน

ผักไชยา

ไผ่

ไผ่รวก

ฝรั่ง

แฝก

พลวง

พลับพลึง

พวงชมพู

พุดกังหัน

พุดซ้อน

พุทธรักษา

พู่จอมพล

เพกา

แพงพวย

แพรเซี่ยงไฮ้

โพธิ์

ฟ้าทะลายโจร

ฟิโลเดดรอนสีทอง

เฟินใบมะขาม

เฟื่องฟ้า

มะกรูด

มะขาม

มะขามเทศ

มะขามป้อม

มะนาว

มะเฟือง

มะม่วง

มะม่วงหิมพานต์

มะยม

มะละกอ

มะลิ

มิกกี้เมาส์

โมก

ยางพารา

ยูคาลิปตัส

รัก

รำเพย

ลำโพง

ลำไย

ลิ้นมังกร

ลีลาวดี

เล็บครุฑกระจก

เล็บครุฑผักชี

เล็บครุฑลังกา

เล็บมือนาง

ว่านหอยแครง

ว่านหางจระเข้

วาสนา

เศรษฐีเรือนนอก

สน

สนแผง

สนมังกร

ส้ม

ส้มป่อย

สัก

สับปะรดสีนีโอเรเจเลีย

สารภี

สาวน้อยประแป้ง

สิบสองปันนา

เสมา

เสลา

หญ้านวลน้อย

หญ้ามาเลเซีย

หม่อน

หมากนวล

หมากเหลือง

หว้า

หัวใจม่วง

หางนกยูง

หูกวาง

หูปลาช่อน

เหงือกปลาหมอ

เหมือดโลด

โหระพา

อโศกอินเดีย

อะราง

อัญชัน

อากาเว่

อินทนิลน้ำ

เอื้องหมายนา

ไอริสน้ำ

มะขาม

รหัสพันธุ์ไม้ : 7-58000-002-098

สถานที่พบ : ทั่วโรงเรียน


ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tamarindus indice L.

ชื่อวงศ์ : FABACEAE (LEGUMINOSAE-CAESALPINIOIDEAE)

ชื่อสามัญ : Indian date, Tamarind.

ชื่ออื่นๆ : หมากแกง(เงี้ยว-แม่ฮ่องสอน), หม่างคล่า(กะเหรี่ยงโปว์-แม่ฮ่องสอน), มอดเล(กะเหรี่ยงสกอว์-แม่ฮ่องสอน)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูงประมาณ 10 - 30 เมตร แตกกิ่งก้านเป็นพุ่มกลม ลำต้นและกิ่งเหนียว ปลายกิ่งห้อยลู่ลง เปลือกต้นสีน้ำตาลอ่อนและแตกสะเก็ดเป็นร่องเล็กๆ เปลือกต้นด้านในมีสีแดงเรื่อๆ แก่นสีน้ำตาลเข้ม กระพี้สีขาว

  • ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก ชั้นเดียวออกเรียงสลับ ใบย่อยมีขนาดเล็ก ลักษณะใบรูปขอบขนาน ปลายใบเว้าบุ๋มหรือมน โคนใบมน ออกใบเป็นคู่ๆ เรียงกันตามก้านใบแบบตรงข้ามประมาณ 10 - 18 คู่ แผ่นใบเรียบบางสีเขียว ใบอ่อนสีออกแดงเรื่อๆ หรือชมพู

  • ดอก ออกดอกเป็นช่อแบบช่อกระจะ ช่อหนึ่งมีประมาณ 10 - 15 ดอก ออกช่อตามปลายกิ่งและซอกใบ มีกลีบรองกลีบดอก 4 กลีบ สีเหลืองหรือเขียวอ่อน กลีบดอกมี 5 กลีบ สีเหลืองประแต้มสีแดงส้ม

  • ผล เมื่อดอกร่วงแล้วก็จะติดผลเป็นฝักกลม แบนเล็กน้อย คอดเป็นข้อตามเมล็ด และมีก้าน เปลือกสีเทาอมน้ำตาล ข้างในผลมีเนื้อเยื่อ แรกๆ เป็นสีเหลืองอ่อน และค่อยๆ เปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเมื่อผลแก่จัด ซึ่งจะหุ้มเมล็ดอยู่

  • เมล็ด เมล็ดเป็นรูปค่อนข้างกลมแป้น เปลือกผิวเกลี้ยงมีสีน้ำตาลดำหรือสีน้ำตาลเข้ม

ประโยชน์ : ใบมีรสเปรี้ยวฝาด ใช้เป็นยาแก้ไอ แก้โรคบิด ฟอกโลหิต ขับลมในลำไส้ รักษาหวัด ขับเหงื่อ เป็นยาถ่าย ยาระบาย แก้ตามัว หยอดตารักษาเยื่อตาอักเสบ, ใบอ่อน นำมาต้มเอาน้ำโกรกศึรษะแก้หวัด คัดจมูก ผลหรือฝักดิบรสเปรี้ยว ช่วยฟอกเลือดและลดความอ้วน เป็นยาระบาย ช่วยลดอุณหภูมิในร่างกาย บรรเทาอาการไข้


อ้างอิง : คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. (2552). ข้อมูลพืชสมุนไพร. สืบค้น 26 มกราคม 2565, จาก http://pharmacy.su.ac.th/herbmed/herb/text/herb_detail.php?herbID=174