กระเจี๊ยบเขียว

กระเจี๊ยบแดง

กระชาย

กระดุมทองเลื้อย

กระถิน

กระถินณรงค์

กระพี้จั่น

กล้วย

กล้วยไม้แวนด้า

กล้วยไม้สกุลช้าง

กล้วยไม้สกุลหวาย

กะเพรา

กาแฟ

กุหลาบ

เก๊กฮวย

เกล็ดแก้ว

แก้ว

โกสน

โกสนตรีน้ำตก

ขนุน

ขมิ้น

ข่า

ขิง

ขี้เหล็ก

เข็ม

เข็มขาว

คุณนายตื่นสาย

คริสติน่า

คำมอกน้อย

เงินไหลมา

จอก

จั๋ง

ชงโค

ชบา

ชมนาด

ชวนชม

ชะอม

ชาฮกเกี้ยน

เชียงดา

ซองออฟอินเดีย

ดาวกระจาย

ดาวเรือง

แดง

ตะขบ

ตะไคร้

ตะแบก

ตาลฟ้า

ติ้วขน

เต็ง

เตยหอม

เต่าร้าง

เทียนทอง

ไทร

ไทรเกาหลี

น้อยหน่า

บอนสี

บานชื่น

บานบุรี

บานไม่รู้โรย

ปรงเขาชะเมา

ประดู่

ปาล์มหางกระรอก

ปีบ

โป๊ยเซียน

ผักไชยา

ไผ่

ไผ่รวก

ฝรั่ง

แฝก

พลวง

พลับพลึง

พวงชมพู

พุดกังหัน

พุดซ้อน

พุทธรักษา

พู่จอมพล

เพกา

แพงพวย

แพรเซี่ยงไฮ้

โพธิ์

ฟ้าทะลายโจร

ฟิโลเดดรอนสีทอง

เฟินใบมะขาม

เฟื่องฟ้า

มะกรูด

มะขาม

มะขามเทศ

มะขามป้อม

มะนาว

มะเฟือง

มะม่วง

มะม่วงหิมพานต์

มะยม

มะละกอ

มะลิ

มิกกี้เมาส์

โมก

ยางพารา

ยูคาลิปตัส

รัก

รำเพย

ลำโพง

ลำไย

ลิ้นมังกร

ลีลาวดี

เล็บครุฑกระจก

เล็บครุฑผักชี

เล็บครุฑลังกา

เล็บมือนาง

ว่านหอยแครง

ว่านหางจระเข้

วาสนา

เศรษฐีเรือนนอก

สน

สนแผง

สนมังกร

ส้ม

ส้มป่อย

สัก

สับปะรดสีนีโอเรเจเลีย

สารภี

สาวน้อยประแป้ง

สิบสองปันนา

เสมา

เสลา

หญ้านวลน้อย

หญ้ามาเลเซีย

หม่อน

หมากนวล

หมากเหลือง

หว้า

หัวใจม่วง

หางนกยูง

หูกวาง

หูปลาช่อน

เหงือกปลาหมอ

เหมือดโลด

โหระพา

อโศกอินเดีย

อะราง

อัญชัน

อากาเว่

อินทนิลน้ำ

เอื้องหมายนา

ไอริสน้ำ

กล้วยไม้สกุลหวาย

รหัสพันธุ์ไม้ : 7-58000-002-011

สถานที่พบ : สวนเกษตร


ชื่อวิทยาศาสตร์ : Dendrobium sp.

ชื่อวงศ์ : ORCHIDACEAE

ชื่อสามัญ : Orchid

ชื่ออื่นๆ : กล้วยไม้(หวาย)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :

  • มีลำต้นเทียมอมน้ำหรือที่เรียกว่าลำลูกกล้วย สำหรับลำต้นของกล้วยไม้ที่โผล่พ้นจากเครื่องปลูกแบ่งได้ 2 ประเภท คือลำต้นแท้และลำต้นเทียม

  • ใบเลี้ยงเดี่ยว คือเส้นใบจะอยู่ในลักษณะขนานกันไปตามความยาวของใบ ใบของกล้วยไม้มีลักษณะที่แตกต่างกันออกไปตามชนิดของกล้วยไม้ นับตั้งแต่รูปร่าง สีสัน ขนาดและการทรงตัวตามธรรมชาติ ลักษณะใบของกล้วยไม้มีหลายชนิด เช่น ใบแบน ใบกลม และใบร่องซึ่งเป็นรูปผสมระหว่างพวกใบกลม กับใบแบน ส่วนมากแล้วจะมีลักษณะแบน ดอกกล้วยไม้เป็นดอกสมบูรณ์เพศ คือ เกสรตัวผู้และเกสรตัวเมีย อยู่ในดอกเดียวกันมีหน้าที่ในการสืบพันธุ์ ลำต้นหมายถึง ส่วนที่เป็นข้อ บริเวณส่วนเหนือข้อ และติดอยู่กับข้อจะมีตา ตาอาจจะแตกเป็นหน่ออ่อน กึ่งอ่อนหรือช่อดอกก็ได้ ส่วนที่ตัดเป็นข้อ เป็นส่วนที่มีใบ กาบใบหรือกาบของลำต้นที่ไม่มีส่วนของใบเจริญออกมาได้ ที่อยู่ระหว่างข้อเรียกว่า ปล้อง

  • ดอกสีสดใส มีกลิ่นหอม กลีบเลี้ยงมี 3 กลีบ ซึ่ง 1 กลีบ จะมีรูปร่างเปลี่ยนเป็นปากหรือกระเป๋าเกสร เพศผู้และเกสรเพศเมียรวมกันเป็นหนึ่งเดียว ซึ่งเรียกว่าเส้าเกสร ได้แก่กล้วยไม้ชนิดต่างๆ

ประโยชน์ : ปลูกเป็นไม้ประดับ ใช้ตกแต่งความสวยงาม


อ้างอิง : http://www.hinsorn.ac.th/botanyhinsorn/see_treedata.php?id_tree=260