กระเจี๊ยบเขียว

กระเจี๊ยบแดง

กระชาย

กระดุมทองเลื้อย

กระถิน

กระถินณรงค์

กระพี้จั่น

กล้วย

กล้วยไม้แวนด้า

กล้วยไม้สกุลช้าง

กล้วยไม้สกุลหวาย

กะเพรา

กาแฟ

กุหลาบ

เก๊กฮวย

เกล็ดแก้ว

แก้ว

โกสน

โกสนตรีน้ำตก

ขนุน

ขมิ้น

ข่า

ขิง

ขี้เหล็ก

เข็ม

เข็มขาว

คุณนายตื่นสาย

คริสติน่า

คำมอกน้อย

เงินไหลมา

จอก

จั๋ง

ชงโค

ชบา

ชมนาด

ชวนชม

ชะอม

ชาฮกเกี้ยน

เชียงดา

ซองออฟอินเดีย

ดาวกระจาย

ดาวเรือง

แดง

ตะขบ

ตะไคร้

ตะแบก

ตาลฟ้า

ติ้วขน

เต็ง

เตยหอม

เต่าร้าง

เทียนทอง

ไทร

ไทรเกาหลี

น้อยหน่า

บอนสี

บานชื่น

บานบุรี

บานไม่รู้โรย

ปรงเขาชะเมา

ประดู่

ปาล์มหางกระรอก

ปีบ

โป๊ยเซียน

ผักไชยา

ไผ่

ไผ่รวก

ฝรั่ง

แฝก

พลวง

พลับพลึง

พวงชมพู

พุดกังหัน

พุดซ้อน

พุทธรักษา

พู่จอมพล

เพกา

แพงพวย

แพรเซี่ยงไฮ้

โพธิ์

ฟ้าทะลายโจร

ฟิโลเดดรอนสีทอง

เฟินใบมะขาม

เฟื่องฟ้า

มะกรูด

มะขาม

มะขามเทศ

มะขามป้อม

มะนาว

มะเฟือง

มะม่วง

มะม่วงหิมพานต์

มะยม

มะละกอ

มะลิ

มิกกี้เมาส์

โมก

ยางพารา

ยูคาลิปตัส

รัก

รำเพย

ลำโพง

ลำไย

ลิ้นมังกร

ลีลาวดี

เล็บครุฑกระจก

เล็บครุฑผักชี

เล็บครุฑลังกา

เล็บมือนาง

ว่านหอยแครง

ว่านหางจระเข้

วาสนา

เศรษฐีเรือนนอก

สน

สนแผง

สนมังกร

ส้ม

ส้มป่อย

สัก

สับปะรดสีนีโอเรเจเลีย

สารภี

สาวน้อยประแป้ง

สิบสองปันนา

เสมา

เสลา

หญ้านวลน้อย

หญ้ามาเลเซีย

หม่อน

หมากนวล

หมากเหลือง

หว้า

หัวใจม่วง

หางนกยูง

หูกวาง

หูปลาช่อน

เหงือกปลาหมอ

เหมือดโลด

โหระพา

อโศกอินเดีย

อะราง

อัญชัน

อากาเว่

อินทนิลน้ำ

เอื้องหมายนา

ไอริสน้ำ

ิ้วขน

รหัสพันธุ์ไม้ : 7-58000-002-053

สถานที่พบ : ข้างอาคารสัมฤทธิ์อุตสาหกรรม


ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cratoxylum formosum (Jacq.) Benth. & Hook.f. ex Dyer (Cratoxylum formosum subsp. formosum)

ชื่อวงศ์ : HYPERICACEAE

ชื่อสามัญ : -

ชื่ออื่นๆ : ติ้วเหลือง(ภาคกลาง) กวยโชง (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี) กุยฉ่องเซ้า (กะเหรี่ยง-ลำปาง) แต้วหิน (ลำปาง) ติ้วแดงติ้วยางติ้วเลือด(ภาคเหนือ) ติ้ว (กาญจนบุรี) ติ้วขน (นครราชสีมา) ราเง้ง (เขมร-สุรินทร์)แต้ว (จันทบุรี) ตาว (สตูล)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ผลัดใบ สูง 8-15 เมตร เปลือกนอกสีน้ำตาลปนดำ แตกเป็นสะเก็ดตามยาว เปลือกในสีน้ำตาลเหลืองและมียางเหนียว ๆ สีเหลืองปนแดง เรือนยอดเป็นพุ่มกลม โปร่ง กิ่งเล็กตามลำต้น มักกลายสภาพเป็นหนามแข็ง ๆ

  • ใบ เป็นใบเดี่ยว ติดตรงข้ามกันเป็นคู่ ๆ รูปรีแกมรูปไข่กลับ หรือรูปขอบขนานกว้าง 2.-4.5 ซม. ยาว 3-13 ซม. โคนใบสอบเรียว เนื้อใบบาง หลังใบมีขนสากๆส่วนท้องใบมีขนนุ่มหนาแน่น ใบอ่อนออกสีชมพูเรื่อ ใบแก่ก่อนผลัดใบมีสีแดง ขอบใบเรียบ

  • ดอก สีชมพูอ่อนถึงแดง กลิ่นหอมอ่อนๆ ออกเป็นกระจุกตามกิ่ง ทั้งกลีบรองกลีบดอกและกลีบดอก มีอย่างละ 5 กลีบ กลีบรองกลีบดอกมีขนประปรายส่วนกลีบดอกเกลี้ยงและยาวประมาณ 2 เท่าของกลีบรองกลีบดอก เกสรผู้มีมาก และแบ่งเป็น 3 กลุ่ม รังไข่รูปรีๆเกลี้ยงๆ

  • ผล เป็นชนิดผลแห้ง รูปรีๆ ยาวประมาณ 2 ซม. แข็งมีคราบสีนวลๆตามผิว ผลแก่จัดจะแตกอ้าออกเป็น 3 แฉก สีน้ำตาล

  • เมล็ด รูปขอบขนานเล็กๆ มีปีกโค้งๆ

ประโยชน์ : เนื้อไม้แข็ง สีแดงเรื่อถึงน้ำตาลแดง มีริ้วสีอ่อนแทรก เนื้อค่อนข้างละเอียด ใช้ทำกระดานพื้นฝา เครื่องตกแต่งเรือน กระสวยทอผ้า และหีบใส่ของได้ดี