กระเจี๊ยบเขียว

กระเจี๊ยบแดง

กระชาย

กระดุมทองเลื้อย

กระถิน

กระถินณรงค์

กระพี้จั่น

กล้วย

กล้วยไม้แวนด้า

กล้วยไม้สกุลช้าง

กล้วยไม้สกุลหวาย

กะเพรา

กาแฟ

กุหลาบ

เก๊กฮวย

เกล็ดแก้ว

แก้ว

โกสน

โกสนตรีน้ำตก

ขนุน

ขมิ้น

ข่า

ขิง

ขี้เหล็ก

เข็ม

เข็มขาว

คุณนายตื่นสาย

คริสติน่า

คำมอกน้อย

เงินไหลมา

จอก

จั๋ง

ชงโค

ชบา

ชมนาด

ชวนชม

ชะอม

ชาฮกเกี้ยน

เชียงดา

ซองออฟอินเดีย

ดาวกระจาย

ดาวเรือง

แดง

ตะขบ

ตะไคร้

ตะแบก

ตาลฟ้า

ติ้วขน

เต็ง

เตยหอม

เต่าร้าง

เทียนทอง

ไทร

ไทรเกาหลี

น้อยหน่า

บอนสี

บานชื่น

บานบุรี

บานไม่รู้โรย

ปรงเขาชะเมา

ประดู่

ปาล์มหางกระรอก

ปีบ

โป๊ยเซียน

ผักไชยา

ไผ่

ไผ่รวก

ฝรั่ง

แฝก

พลวง

พลับพลึง

พวงชมพู

พุดกังหัน

พุดซ้อน

พุทธรักษา

พู่จอมพล

เพกา

แพงพวย

แพรเซี่ยงไฮ้

โพธิ์

ฟ้าทะลายโจร

ฟิโลเดดรอนสีทอง

เฟินใบมะขาม

เฟื่องฟ้า

มะกรูด

มะขาม

มะขามเทศ

มะขามป้อม

มะนาว

มะเฟือง

มะม่วง

มะม่วงหิมพานต์

มะยม

มะละกอ

มะลิ

มิกกี้เมาส์

โมก

ยางพารา

ยูคาลิปตัส

รัก

รำเพย

ลำโพง

ลำไย

ลิ้นมังกร

ลีลาวดี

เล็บครุฑกระจก

เล็บครุฑผักชี

เล็บครุฑลังกา

เล็บมือนาง

ว่านหอยแครง

ว่านหางจระเข้

วาสนา

เศรษฐีเรือนนอก

สน

สนแผง

สนมังกร

ส้ม

ส้มป่อย

สัก

สับปะรดสีนีโอเรเจเลีย

สารภี

สาวน้อยประแป้ง

สิบสองปันนา

เสมา

เสลา

หญ้านวลน้อย

หญ้ามาเลเซีย

หม่อน

หมากนวล

หมากเหลือง

หว้า

หัวใจม่วง

หางนกยูง

หูกวาง

หูปลาช่อน

เหงือกปลาหมอ

เหมือดโลด

โหระพา

อโศกอินเดีย

อะราง

อัญชัน

อากาเว่

อินทนิลน้ำ

เอื้องหมายนา

ไอริสน้ำ

สนสามใบ

รหัสพันธุ์ไม้ : 7-58000-002-126

สถานที่พบ : หน้าสวนเกษตร


ชื่อวิทยาศาสตร์ : Pinus kesiya Royle ex Gordon

ชื่อวงศ์ : PINACEAE

ชื่อสามัญ : Kesiya pine, Khasya pine

ชื่ออื่นๆ : เกี๊ยะเปลือกแดง (ภาคเหนือ) , เกี๊ยะเปลือกบาง (เชียงใหม่) , จ๋วง (ภาคเหนือ และภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ), เชียงบั้ง (กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน), แปก (ฉานแม่ฮ่องสอน เพชรบูรณ์), สนเขา (ภาคกลาง)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : เป็นไม้ยืนต้น ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 10 - 30 ม. ไม่ผลัดใบ ลำต้นเปลาตรง เรือนยอด ที่สมบูรณ์ จะเป็นพุ่มกลม กิ่งที่แยกจากลำต้นมักบิดคดงอเป็นข้อศอก กิ่งอ่อนมีรอยตาใบทั่วไป เปลือกนอก สีน้ำตาลอมชมพูอ่อน ล่อนเป็นสะเก็ดรูปตาข่ายเปลือกในสีแดง มักมียางสีเหลืองอ่อนใสๆ ซึมออกมาตามรอยแตก กระพี้สีขาวถึงขาวแกมเหลืองหรือเหลืองอ่อน มียางซึมอยู่ทั่วไป กระพี้กับแก่นแยกจากกันเห็นได้ชัด

  • ใบ ใบเล็กยาวเรียว เป็นรูปเข็ม ไม่แข็ง ออกเป็นกระจุกละ 3 ใบ ยาว 10 - 25 ซม. หลังใบเป็นร่องแบบรางน้ำตลอด ท้องใบโค้งเป็นรูปเกือกม้า ขอบหยักถี่ละเอียด ปลายแหลม โคนอัดแน่นอยู่ในกระเปราะ ใบมักออกตามปลายกิ่ง เป็นช่อใหญ่ ๆ

  • ดอก ออกเป็นช่อ แยกเพศ อยู่บนต้นเดียวกัน ช่อดอกตัวผู้สีเหลือง แบบหางกระรอก ติดเป็นกลุ่มบริเวณใกล้ ๆ ปลายกิ่ง แต่ละช่อยาว 2 - 4 ซม. ช่อดอกตัวเมีย ออกเดี่ยว ๆ หรืออย่างมากไม่เกิน 3 ดอก ออกตามกิ่ง เมื่อผสมพันธุ์แล้ว จะกลายเป็นผล

  • ผล ออกอ่อนมีลักษณะกลม ออกรวมกันเป็นกลุ่ม เรียกว่า cone รูปไข่สีน้ำตาล กว้างประมาณ 5 ซม. ยาวประมาณ 8 ซม. เมล็ดเล็กมีปีก ผลแก่ เมื่อแก่จัดจะแตกแยกออกเป็นกลีบแข็ง ๆ โคนกลีบยังคงติดอยู่กับแกนกลางของผลและมีลักษณะเป็นรูปกรวยคว่ำ เมล็ดรูปรี ๆ มีครีบบาง ๆ สีขาว มีเมล็ดเป็นจำนวนมาก ขนาดเล้ก ก้านผลยาว 0.5 ซม.

ประโยชน์ : เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้างได้ดี เช่น ทำฝา ทำเครื่องใช้ เช่น ตู้ เตียง ฯลฯ เยื่อไม้มีคุณสมบัติเหมาะใช้ทำกระดาษ น้ำมันและชันใช้ทำน้ำมันชักเงา