กระเจี๊ยบเขียว

กระเจี๊ยบแดง

กระชาย

กระดุมทองเลื้อย

กระถิน

กระถินณรงค์

กระพี้จั่น

กล้วย

กล้วยไม้แวนด้า

กล้วยไม้สกุลช้าง

กล้วยไม้สกุลหวาย

กะเพรา

กาแฟ

กุหลาบ

เก๊กฮวย

เกล็ดแก้ว

แก้ว

โกสน

โกสนตรีน้ำตก

ขนุน

ขมิ้น

ข่า

ขิง

ขี้เหล็ก

เข็ม

เข็มขาว

คุณนายตื่นสาย

คริสติน่า

คำมอกน้อย

เงินไหลมา

จอก

จั๋ง

ชงโค

ชบา

ชมนาด

ชวนชม

ชะอม

ชาฮกเกี้ยน

เชียงดา

ซองออฟอินเดีย

ดาวกระจาย

ดาวเรือง

แดง

ตะขบ

ตะไคร้

ตะแบก

ตาลฟ้า

ติ้วขน

เต็ง

เตยหอม

เต่าร้าง

เทียนทอง

ไทร

ไทรเกาหลี

น้อยหน่า

บอนสี

บานชื่น

บานบุรี

บานไม่รู้โรย

ปรงเขาชะเมา

ประดู่

ปาล์มหางกระรอก

ปีบ

โป๊ยเซียน

ผักไชยา

ไผ่

ไผ่รวก

ฝรั่ง

แฝก

พลวง

พลับพลึง

พวงชมพู

พุดกังหัน

พุดซ้อน

พุทธรักษา

พู่จอมพล

เพกา

แพงพวย

แพรเซี่ยงไฮ้

โพธิ์

ฟ้าทะลายโจร

ฟิโลเดดรอนสีทอง

เฟินใบมะขาม

เฟื่องฟ้า

มะกรูด

มะขาม

มะขามเทศ

มะขามป้อม

มะนาว

มะเฟือง

มะม่วง

มะม่วงหิมพานต์

มะยม

มะละกอ

มะลิ

มิกกี้เมาส์

โมก

ยางพารา

ยูคาลิปตัส

รัก

รำเพย

ลำโพง

ลำไย

ลิ้นมังกร

ลีลาวดี

เล็บครุฑกระจก

เล็บครุฑผักชี

เล็บครุฑลังกา

เล็บมือนาง

ว่านหอยแครง

ว่านหางจระเข้

วาสนา

เศรษฐีเรือนนอก

สน

สนแผง

สนมังกร

ส้ม

ส้มป่อย

สัก

สับปะรดสีนีโอเรเจเลีย

สารภี

สาวน้อยประแป้ง

สิบสองปันนา

เสมา

เสลา

หญ้านวลน้อย

หญ้ามาเลเซีย

หม่อน

หมากนวล

หมากเหลือง

หว้า

หัวใจม่วง

หางนกยูง

หูกวาง

หูปลาช่อน

เหงือกปลาหมอ

เหมือดโลด

โหระพา

อโศกอินเดีย

อะราง

อัญชัน

อากาเว่

อินทนิลน้ำ

เอื้องหมายนา

ไอริสน้ำ

มะม่วงหิมพานต์

รหัสพันธุ์ไม้ : 7-58000-002-104

สถานที่พบ : สวนเกษตร,หน้าบ้านพักครู


ชื่อวิทยาศาสตร์ : Anacardium occidentale Linn.

ชื่อวงศ์ : ANACARDIACEAE

ชื่อสามัญ : Cashew Nut

ชื่ออื่นๆ : ยาโงย ยาร่วง มะม่วงไม่รู้หาว มะม่วงกุลา มะม่วงกาสอ มะม่วงลังกา มะม่วงสิงหน มะม่วงเล็ดล่อ มะม่วงหยอด

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้นขนาดกลาง สูงได้ถึง 10 เมตร

  • ใบเป็นใบเดี่ยว สีเขียวเข้ม ออกสลับกัน รูปไข่กลับ โคนใบสอบ ปลายใบมนป้าน กว้าง 7.5-10 ซม. ยาว 7.5-20 ซม.

  • ดอกออกเป็นช่อหลวมๆ สีแดงอมม่วงหรือสีครีม กลิ่นหอมเอียน ช่อดอกยาว 15-20 ซม. ดอกย่อยมีขนาดผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 ซม. กลีบดอก 5 กลีบ เกสรผู้ 8-10 อัน มีหนึ่งอันที่ยาวกว่าอันอื่น

  • ผลมีลักษณะเด่นคือ เมื่อแก่ฐานรองดอกจะขยายใหญ่ขึ้นเป็นลักษณะคล้ายผลชมพู่ ยาว 6-7 ซม. สีเหลืองอมชมพู เมื่อแก่จัดสีแดงและมีกลิ่นหอม

  • เมล็ดมี 1 เมล็ด ติดอยู่ที่ส่วนปลายรูปไต ยาว 2.5-3 ซม. สีน้ำตาลอมเทา มีเปลือกแข็งหุ้ม

ประโยชน์ : ใบอ่อน ใบรับประทานได้เป็นผัก เมล็ดเป็นพืชเศรษฐกิจที่นิยมรับประทานเป็นอาหารทั่วไป ผลสุกรับประทานเป็นยาบำรุงกำลังและเป็นยาระบายอ่อนๆ เนื้อในเมล็ดรับประทานแก้ท้องร่วง บิด อาเจียน น้ำมันในเปลือกใช้เป็นยาทารอยแตกที่ส้นเท้าได้