Body Interventional Radiology (IR)

Section faculty

หัวหน้าหน่วย

คณาจารย์ประจำหน่วย (สาย ก ปฏิบัติงานเต็มเวลา)

แพทย์ประจำบ้านอนุสาขา

Overview

ระยะเวลาปฏิบัติงานอย่างน้อย 8 สัปดาห์ โดยเป็นการหมุนเวียน 2 ครั้ง ครั้งละประมาณ  4 สัปดาห์ ตลอดหลักสูตร  ความรู้ ทักษะ เจตคติ กระบวนการเรียนรู้ ผ่านการบรรยาย ฝึกแปลผลภาพ และการดำเนินการตรวจวิเคราะห์ผลการตรวจทางรังสีวิทยาที่เกี่ยวข้องกับหัตถการทางรังสีร่วมรักษา ได้แก่ ภาพรังสีทั่วไป การตรวจด้วยเครื่องเอกซเรย์หลอดเลือดระบบ Digital Subtraction Angiography (DSA) เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT) และอื่น ๆ 

Core curriculum

เนื้อหาวิชาความรู้แยกตามชั้นความรู้ medical knowledge


ระดับขั้นและชั้นของความรู้ตามการตรวจต่าง ๆ ในระบบ ดังนี้

ตารางแสดงระดับขั้น

Case logs

จำนวนรายงานขั้นต่ำในการตรวจด้วยเครื่องมือต่าง ๆ (logbook) ในแต่ละครั้งของการหมุนเวียนปฏิบัติงาน กำหนดไว้ดังนี้

ตาราง logbook requirement ของหน่วย

Academic activities

กิจกรรมที่จัดเป็นประจำ (กิจกรรมระดับหน่วย)

กิจกรรมที่จัดไม่เป็นประจำ (กิจกรรมระดับหน่วย)

-

Rotation 1

Medical knowledge ระดับที่ 1 (“ต้องรู้” มีความสำคัญและพบบ่อย) ซึ่งแพทย์ประจำบ้านต้องสามารถตรวจวินิจฉัยได้ด้วยตนเอง 

สถานที่ปฏิบัติงาน: ศูนย์รังสีร่วมรักษาศิริราช (SiCIR)

ปฏิทินปฏิบัติงาน (Tab “Body IR”)

Rotation 2

Medical knowledge ระดับที่ 1 และ ระดับที่ 2 (“ควรรู้” โรคที่พบน้อยกว่าระดับ 1 แต่มีความสำคัญ) ซึ่งแพทย์ประจำบ้านควรตรวจวินิจฉัยได้ ภายใต้การควบคุมของอาจารย์ 

สถานที่ปฏิบัติงาน: ศูนย์รังสีร่วมรักษาศิริราช (SiCIR)

ปฏิทินปฏิบัติงาน (Tab “Body IR”)

เอกสารส่งงาน 

ตรวจสอบเอกสารส่งงานของ Rotation ได้ในลิงค์ 

Evaluation

ประเมินทักษะ 

ใช้แบบประเมินผู้เรียนก่อนลงกอง (end-of-rotation learner evaluation form) ผ่านแบบประเมินแบบกลุ่มที่เน้นการรักษา (treatment predominance) เป็น global assessments 1 ครั้ง เมื่อจบแต่ละ rotation รวม 2 ครั้ง ตลอดหลักสูตร โดยเป็นการประเมินการทำหัตถการ US-guided FNA/biopsy ในรอบแรกได้ระดับชั้น 2 และรอบที่สองได้ระดับชั้น 3

ประเมิน knowledge 

ตาราง 2.2

Study aids

Textbooks ที่ใช้อ้างอิงในการสอบ

อื่น ๆ