Research

ศึกษารายละเอียดการเตรียมงานวิจัยได้ใน Resident Hub/Research

ความสามารถในการทำวิจัยด้วยตนเองเป็นสมรรถนะหนึ่งที่แพทย์ประจำบ้านสาขารังสีวิทยาวินิจฉัย ต้องบรรลุตามหลักสูตรฯ ผู้รับการฝึกอบรมต้องทำงานวิจัย ได้แก่ งานวิจัยแบบ retrospective, prospective หรือ cross sectional อย่างน้อย 1 เรื่อง หรือทำ systematic review หรือ meta-analysis 1 เรื่อง ในระหว่างการฝึกอบรม โดยเป็นผู้วิจัยหลักหรือผู้นิพนธ์หลัก โดยแต่ละแผนงาน/หลักสูตรฝึกอบรม ให้ระบุลักษณะของงานวิจัยดังหัวข้อต่อไปนี้ อย่างชัดเจน คือ คุณลักษณะของงานวิจัย ขอบเขตความรับผิดชอบ  วิธีดำเนินการและ กรอบเวลาการดำเนินงานวิจัย ดังนี้

Research Framework กรอบการดำเนินงานวิจัย 

ในเวลา 3 ปีของการฝึกอบรม มีกรอบการดำเนินงานวิจัยด้วยระยะเวลาประมาณการ ดังนี้


Research Matching Process การจับคู่วิจัย 

แนวคิด

วิธีการ  

a. แพทย์ประจำบ้านชั้นปีที่ 1 ที่เข้าโครงการเทียบวุฒิป.เอก เรียงลำดับหัวข้อวิจัยที่ตนเองสนใจ จาก List หัวข้อวิจัยของอาจารย์กลุ่มA1

i. ถ้าจำนวนอาจารย์กลุ่ม A = Resident เทียบ ป.เอก -> จะสามารถปิดการจับคู่ได้ทันที

ii. ถ้าจำนวนอาจารย์กลุ่ม A > Resident –> หัวข้อวิจัยของอาจารย์ที่ไม่ได้รับการจับคู่ จะนำไปรวมกับหัวข้อวิจัยของกลุ่มปกติ

iii. ถ้าจำนวนอาจารย์กลุ่ม A < Resident ->Resident ที่ไม่ได้รับการจับคู่ จะนำไปรวมอยู่กับ pool Resident กลุ่มปกติ (ซึ่งหมายความว่าอาจไม่สามารถทำการเทียบ ป.เอกได้ดังที่ประสงค์2)

b. แพทย์ประจำบ้านชั้นปีที่ 1 ที่ไม่เข้าโครงการเทียบวุฒิ (กลุ่ม “ปกติ”) เลือกจาก list หัวข้อวิจัยของอาจารย์กลุ่ม B3

i. ถ้าเหตุการณ์เป็นตามข้อ 3.a.ii จะมีหัวข้อวิจัยของอาจารย์กลุ่ม A มาเพิ่มให้เลือกด้วย

ii. ถ้าเหตุการณ์เป็นตามข้อ 3.a.ii จะมีเพื่อน Resident ที่ต้องการเทียบ ป.เอก เข้ามาเลือกหัวข้อวิจัยกับกลุ่มปกติด้วย 

Timeline

Research Milestones เกณฑ์เลื่อนชั้นปี ด้านงานวิจัย (มิติที่ 4) 

การรายงานประสบการณ์วิจัย

Research Criteria for Graduation เกณฑ์ผ่านผลงานวิจัย 

ระบุโดยราชวิทยาลัยฯ ไว้ มีดังนี้