เรื่องที่ 4 การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน
การจัดกิจกรรมการพัฒนาชุมชนที่ก่อให้เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น สามารถ ทํา ได้หลายวิธี เช่น การจัดเวทีประชาคม การประชุมกลุ่มย่อยเพื่อระดมความคิดเห็นร่วมต่อ ประเด็น ใดประเด็นหนึ่ง การฝึกอบรมเพื่อพัฒนาหรือส่งเสริมศักยภาพของประชาชน การ ประชาพิจารณ์ เพื่อการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับประเด็นที่มีผลกระทบต่อ ประชาชนจํานวนมาก ฯลฯ กิจกรรมต่างๆ เหล่านี้ประชาชนทุกคนสามารถเข้าไปมีส่วนร่วม เพราะเป็นกระบวนการเรียนรู้ ร่วมกัน แต่การเข้าไปมีส่วนร่วมในแต่ละกิจกรรม จําเป็นต้องเข้าใจ และแสดงบทบาทของตนเองให้ ถูกสอดคล้องและเหมาะสมกับกิจกรรมที่จัดขึ้น
การจัดกิจกรรมการพัฒนาชุมชนที่ก่อให้เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น สามารถ ทํา ได้หลายวิธี เช่น การจัดเวทีประชาคม การประชุมกลุ่มย่อยเพื่อระดมความคิดเห็นร่วมต่อ ประเด็น ใดประเด็นหนึ่ง การฝึกอบรมเพื่อพัฒนาหรือส่งเสริมศักยภาพของประชาชน การ ประชาพิจารณ์ เพื่อการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับประเด็นที่มีผลกระทบต่อ ประชาชนจํานวนมาก ฯลฯ กิจกรรมต่างๆ เหล่านี้ประชาชนทุกคนสามารถเข้าไปมีส่วนร่วม เพราะเป็นกระบวนการเรียนรู้ ร่วมกัน แต่การเข้าไปมีส่วนร่วมในแต่ละกิจกรรม จําเป็นต้องเข้าใจ และแสดงบทบาทของตนเองให้ ถูกสอดคล้องและเหมาะสมกับกิจกรรมที่จัดขึ้น
4.1 การมีส่วนร่วมของประชาชนในเวทีประชาคม
4.1 การมีส่วนร่วมของประชาชนในเวทีประชาคม
เวทีประชาคมเป็นกิจกรรมหนึ่งที่มีวิธีการกระตุ้นให้กลุ่มประชาชนได้เกิดการเรียนรู้ อย่างมีส่วนร่วมระหว่างผู้ที่มีประเด็นร่วมกันโดยจัดเวทีสื่อสารพูดคุยกันขึ้น เพื่อสร้าง การรับรู้ สร้างความเข้าใจในประเด็นปัญหาร่วม เพื่อให้ได้ข้อสรุปและแนวทางแก้ไขประเด็น นั้นๆ แล้ว ช่วยกันผลักดันให้เกิดผลตามแนวทางและเป้าหมายที่ได้กําหนดขึ้นร่วมกัน
เวทีประชาคมเป็นกิจกรรมหนึ่งที่มีวิธีการกระตุ้นให้กลุ่มประชาชนได้เกิดการเรียนรู้ อย่างมีส่วนร่วมระหว่างผู้ที่มีประเด็นร่วมกันโดยจัดเวทีสื่อสารพูดคุยกันขึ้น เพื่อสร้าง การรับรู้ สร้างความเข้าใจในประเด็นปัญหาร่วม เพื่อให้ได้ข้อสรุปและแนวทางแก้ไขประเด็น นั้นๆ แล้ว ช่วยกันผลักดันให้เกิดผลตามแนวทางและเป้าหมายที่ได้กําหนดขึ้นร่วมกัน
การเข้ามามีส่วนร่วมของประชาชนในเวทีประชาคม ประชาชนอาจแสดงบทบาท ของตนเองได้ดังนี้
การเข้ามามีส่วนร่วมของประชาชนในเวทีประชาคม ประชาชนอาจแสดงบทบาท ของตนเองได้ดังนี้
1. ควรทําความเข้าใจต่อวัตถุประสงค์ของการทําประชาคมอย่างชัดเจน
1. ควรทําความเข้าใจต่อวัตถุประสงค์ของการทําประชาคมอย่างชัดเจน
2.ควรใช้ความคิดและนําเสนอโดยการพูดสื่อสารให้เห็นความเชื่อมโยง และเป็น
2.ควรใช้ความคิดและนําเสนอโดยการพูดสื่อสารให้เห็นความเชื่อมโยง และเป็น
ระบบ
ระบบ
3. พยายามเข้าใจและเรียนรู้รับฟังเหตุผลของผู้อื่น
3. พยายามเข้าใจและเรียนรู้รับฟังเหตุผลของผู้อื่น
4. ควรรับฟังประเด็นและความคิดเห็นของผู้อื่นอย่างตั้งใจ หากไม่เข้าใจควร ซักถามผู้ดําเนินการด้วยความสุภาพ
4. ควรรับฟังประเด็นและความคิดเห็นของผู้อื่นอย่างตั้งใจ หากไม่เข้าใจควร ซักถามผู้ดําเนินการด้วยความสุภาพ
5. ความคิดเห็นควรมีความเป็นไปได้ มีความเหมาะสม
5. ความคิดเห็นควรมีความเป็นไปได้ มีความเหมาะสม
6. ควรเสนอความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์นั่นคือใช้เหตุและผลประกอบ ความ คิดเห็น
6. ควรเสนอความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์นั่นคือใช้เหตุและผลประกอบ ความ คิดเห็น
7. รับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น เพราะแต่ละคนมีสิทธิเสรีในการ แสดง ความคิดเห็นอย่างเท่าเทียมกัน
7. รับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น เพราะแต่ละคนมีสิทธิเสรีในการ แสดง ความคิดเห็นอย่างเท่าเทียมกัน
8. แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นร่วมอย่างตรงไปตรงมา
8. แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นร่วมอย่างตรงไปตรงมา
9. ไม่วางตนเป็นผู้ขัดขวางต่อการดําเนินงาน
9. ไม่วางตนเป็นผู้ขัดขวางต่อการดําเนินงาน
4.2 การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน
4.2 การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน
1. การมีส่วนร่วมในการค้นหาสาเหตุของปัญหา เนื่องจากปัญหาเกิดกับ ประชาชน ประชาชนในชุมชนย่อมรู้จักและเข้าใจปัญหาของตนดีที่สุด หากได้รวมกลุ่มกัน จะ สามารถช่วยกันคิด วิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุได้อย่างชัดเจนและรอบด้าน
1. การมีส่วนร่วมในการค้นหาสาเหตุของปัญหา เนื่องจากปัญหาเกิดกับ ประชาชน ประชาชนในชุมชนย่อมรู้จักและเข้าใจปัญหาของตนดีที่สุด หากได้รวมกลุ่มกัน จะ สามารถช่วยกันคิด วิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุได้อย่างชัดเจนและรอบด้าน
2. การมีส่วนร่วมในการร่วมคิดร่วมวางแผน ประชาชนอาจร่วมกันใช้ข้อมูล ที่ได้ จากการสํารวจและเรียนรู้ร่วมกันจากการรวมกลุ่มแลกเปลี่ยนความคิดเห็น จากการค้นหา ศักยภาพ ของชุมชน หรือจากการศึกษาดูงาน แล้วนําข้อมูลเหล่านั้น มาคิดวางแผนร่วมกัน ตัดสินใจร่วมกัน ขั้นตอนนี้อาจค่อยเป็นค่อยไป และอาศัย แกนนําที่เข้มแข็ง
2. การมีส่วนร่วมในการร่วมคิดร่วมวางแผน ประชาชนอาจร่วมกันใช้ข้อมูล ที่ได้ จากการสํารวจและเรียนรู้ร่วมกันจากการรวมกลุ่มแลกเปลี่ยนความคิดเห็น จากการค้นหา ศักยภาพ ของชุมชน หรือจากการศึกษาดูงาน แล้วนําข้อมูลเหล่านั้น มาคิดวางแผนร่วมกัน ตัดสินใจร่วมกัน ขั้นตอนนี้อาจค่อยเป็นค่อยไป และอาศัย แกนนําที่เข้มแข็ง
3. การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ เนื่องจากประชาชนมีทุนของตนเอง ตั้งแต่ แรงงาน ประสบการณ์และทรัพยากร หากได้ร่วมกันปฏิบัติโดยใช้ทุนที่มีอยู่ย่อมทําให้รู้สึกถึง ความ เป็นเจ้าของร่วมกัน เกิดการเรียนรู้ในการทํางานร่วมกัน การแก้ไขปัญหาร่วมกัน โอกาส ที่จะ นําไปสู่เป้าหมายจึงมีสูงกว่าการปฏิบัติโดยอาศัย บุคคลภายนอก
3. การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ เนื่องจากประชาชนมีทุนของตนเอง ตั้งแต่ แรงงาน ประสบการณ์และทรัพยากร หากได้ร่วมกันปฏิบัติโดยใช้ทุนที่มีอยู่ย่อมทําให้รู้สึกถึง ความ เป็นเจ้าของร่วมกัน เกิดการเรียนรู้ในการทํางานร่วมกัน การแก้ไขปัญหาร่วมกัน โอกาส ที่จะ นําไปสู่เป้าหมายจึงมีสูงกว่าการปฏิบัติโดยอาศัย บุคคลภายนอก
4. การมีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินผล เมื่อประชาชนเป็นผู้ปฏิบัติ และ ขณะเดียวกันประชาชนควรเป็นผู้ติดตามและประเมินผลร่วมกัน เพื่อจะได้ร่วมกันพิจารณาว่า สิ่งที่ดําเนินการร่วมกันนั้นเกิดผลดีบรรลุตามเป้าหมาย ที่กําหนดหรือไม่เพียงใด ควรปรับปรุง อย่างไร ซึ่งจะทําให้ประชาชนเห็นคุณค่า ของการทํากิจกรรมเหล่านั้น
4. การมีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินผล เมื่อประชาชนเป็นผู้ปฏิบัติ และ ขณะเดียวกันประชาชนควรเป็นผู้ติดตามและประเมินผลร่วมกัน เพื่อจะได้ร่วมกันพิจารณาว่า สิ่งที่ดําเนินการร่วมกันนั้นเกิดผลดีบรรลุตามเป้าหมาย ที่กําหนดหรือไม่เพียงใด ควรปรับปรุง อย่างไร ซึ่งจะทําให้ประชาชนเห็นคุณค่า ของการทํากิจกรรมเหล่านั้น
4.3 การมีส่วนร่วมของประชาชนในการประชุมกลุ่มย่อย
4.3 การมีส่วนร่วมของประชาชนในการประชุมกลุ่มย่อย
การประชุมกลุ่มย่อยเป็นการประชุมเพื่อระดมความคิด สําหรับการทํางาน อย่างใด อย่างหนึ่ง โดยมีผู้เข้าประชุมประมาณ 4-12 คน
การประชุมกลุ่มย่อยเป็นการประชุมเพื่อระดมความคิด สําหรับการทํางาน อย่างใด อย่างหนึ่ง โดยมีผู้เข้าประชุมประมาณ 4-12 คน
องค์ประกอบของการประชุมกลุ่มย่อย
องค์ประกอบของการประชุมกลุ่มย่อย
1. กําหนดประเด็นการประชุม
1. กําหนดประเด็นการประชุม
2. ผู้เข้าประชุมประกอบด้วย 1) ประธาน 2) เลขานุการ 3) สมาชิกกลุ่ม
2. ผู้เข้าประชุมประกอบด้วย 1) ประธาน 2) เลขานุการ 3) สมาชิกกลุ่ม
3. เลือก และกําหนดบทบาทผู้เข้าประชุมเพื่อทําหน้าที่ ต่างๆ เช่น ประธานที่ทํา หน้าที่ ดําเนินการประชุม เลขานุการทําหน้าที่สรุปความคิดเห็นของที่ประชุม จดบันทึกและ รายงานการ ประชุม สมาชิกกลุ่มทําหน้าที่แสดงความเห็นตาม ประเด็น
3. เลือก และกําหนดบทบาทผู้เข้าประชุมเพื่อทําหน้าที่ ต่างๆ เช่น ประธานที่ทํา หน้าที่ ดําเนินการประชุม เลขานุการทําหน้าที่สรุปความคิดเห็นของที่ประชุม จดบันทึกและ รายงานการ ประชุม สมาชิกกลุ่มทําหน้าที่แสดงความเห็นตาม ประเด็น
4. สถานที่กําหนดตามความเหมาะสม วิธีการประชุมกลุ่มย่อย
4. สถานที่กําหนดตามความเหมาะสม วิธีการประชุมกลุ่มย่อย
1. ประธาน เป็นผู้ทําหน้าที่เปิดประชุม แจ้งหัวข้อการประชุมให้สมาชิกในที่ประชุม รับทราบ
1. ประธาน เป็นผู้ทําหน้าที่เปิดประชุม แจ้งหัวข้อการประชุมให้สมาชิกในที่ประชุม รับทราบ
2. ผู้เข้าร่วมประชุม อาจช่วยกันตั้งหัวข้อย่อยของประเด็น บางครั้งหน่วยงาน เจ้าของ เรื่องที่จัดประชุมอาจกําหนดประเด็นและหัวข้อย่อยไว้ให้แล้ว
2. ผู้เข้าร่วมประชุม อาจช่วยกันตั้งหัวข้อย่อยของประเด็น บางครั้งหน่วยงาน เจ้าของ เรื่องที่จัดประชุมอาจกําหนดประเด็นและหัวข้อย่อยไว้ให้แล้ว
3. ประธานเสนอประเด็น ให้สมาชิกที่ประชุมอภิปรายที่ละประเด็น และสรุป ประเด็น การพูดคุย
3. ประธานเสนอประเด็น ให้สมาชิกที่ประชุมอภิปรายที่ละประเด็น และสรุป ประเด็น การพูดคุย
4. สมาชิกที่ประชุมร่วมกันแสดงความคิดเห็น
4. สมาชิกที่ประชุมร่วมกันแสดงความคิดเห็น
5. เลขานุการ จดบันทึกสรุปความคิดเห็นของที่ประชุม และจัดทํารายงานหลังจาก ประชุมเสร็จสิ้นแล้ว
5. เลขานุการ จดบันทึกสรุปความคิดเห็นของที่ประชุม และจัดทํารายงานหลังจาก ประชุมเสร็จสิ้นแล้ว
การมีส่วนร่วมของสมาชิกในการประชุมกลุ่มย่อย
การมีส่วนร่วมของสมาชิกในการประชุมกลุ่มย่อย
ในการประชุมกลุ่มย่อยจําเป็นต้องอาศัยความคิดเห็นของสมาชิกทุกคน ดังนั้นเพื่อ ให้การ จัดประชุมบรรลุตามเป้าหมาย สมาชิกในที่ประชุมควรมีส่วนร่วมดังนี้
ในการประชุมกลุ่มย่อยจําเป็นต้องอาศัยความคิดเห็นของสมาชิกทุกคน ดังนั้นเพื่อ ให้การ จัดประชุมบรรลุตามเป้าหมาย สมาชิกในที่ประชุมควรมีส่วนร่วมดังนี้
1. พูดแสดงความคิดเห็นพร้อมเหตุผลที่ละคน
1. พูดแสดงความคิดเห็นพร้อมเหตุผลที่ละคน
2. ในการพูดสนับสนุนความคิดเห็นของผู้อื่น ควรแสดงความคิดเห็นและใช้เหตุผล ประกอบ
2. ในการพูดสนับสนุนความคิดเห็นของผู้อื่น ควรแสดงความคิดเห็นและใช้เหตุผล ประกอบ
3. ผู้เข้าร่วมประชุมสามารถแสดงความคิดเห็นคัดค้านความคิดเห็นของผู้อื่นได้ แต่ควร ใช้เหตุผลและความเป็นไปได้ในการคัดค้าน
3. ผู้เข้าร่วมประชุมสามารถแสดงความคิดเห็นคัดค้านความคิดเห็นของผู้อื่นได้ แต่ควร ใช้เหตุผลและความเป็นไปได้ในการคัดค้าน
4. ควรใช้คําพูดที่สุภาพ เช่น ขอโทษ ขอบคุณ ในโอกาสที่เหมาะสม
4. ควรใช้คําพูดที่สุภาพ เช่น ขอโทษ ขอบคุณ ในโอกาสที่เหมาะสม