การใช้แหล่งเรียนรู้สำคัญๆ ภายในประเทศ
บทบาทหน้าที่
1. ศูนย์ข่าวสารข้อมูลของชุมชน หมายถึง การจัดห้องสมุดให้เป็นแหล่งศึกษาหาความรู้ ค้นคว้า วิจัย โดยมีการจดับริการหนังสือ เอกสารสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ ตลอดจนการจดัทา ทำเนียบ และการแนะแนว แหล่งความรู้อื่นๆ ที่ผู้ใช้บริการสามารถไปศึกษาเพิ่มเติม
2. ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ของชุมชน หมายถึง การเป็นแหล่งส่งเสริม สนับสนุน และจดั กิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย โดยห้องสมุดอาจดา เนินการเอง หรือประสานงานอำนวยความสะดวก ให้ ชุมชน หรือหน่วยงานภายนอกมาจัดดำเนินการ
กิจกรรมการเรียนรู้ที่จัดขึ้นจะให้ความสำคัญแก่การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน การแนะแนว การศึกษา และการพัฒนาอาชีพ การสนับสนุนการเรียนรู้ด้วยตนเอง การจดัการศึกษานอกโรงเรียน สายสามัญ การจัดกลุ่มสนใจและชั้นเรียนวิชาชีพ การส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัยในรูปของนิทรรศการ การอภิปรายการเรียนรู้ระหว่างสมาชิกในครอบครัว การถ่ายทอดความรู้จากผู้รู้ในชุมชน และการแสดง ภาพยนตร์และสื่อโสตทัศน์
3. ศูนย์กลางจัดกิจกรรมของชุมชน หมายถึง การให้บริการแก่ชุมชนในการจัดกิจกรรม การศึกษาและศิลปวัฒนธรรม เช่น การประชุมขององค์กรท้องถิ่นและชมรมต่าง ๆ การจดันิทรรศการ การแสดงผลิตภัณฑ์ การจัดกิจกรรมวันสำคัญตามประเพณี การจัดสวนสุขภาพ สนามเด็กเล่น และ สวนสาธารณะ เป็นต้น
4. ศูนย์กลางสนับสนุนเครือข่ายการเรียนรู้ในชุมชน หมายถึง การจัดให้เกิดกระบวนการที่จะเชื่อม ประสานระหว่างห้องสมุดและแหล่งความรู้ในชุมชนอื่นๆ เช่นที่อ่านหนังสือประจำหมู่บ้าน สถานศึกษา แหล่งประกอบการ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้วยการผลิตและเผยแพร่เอกสารสิ่งพิมพ์ไปสนับสนุน เวียนหนังสือ จดัทา ทา เนียบรูู้้ในชุมชน จัดกิจกรรมเพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างชุมชน เป็นต้น
อาคารห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” ที่จัดสร้างขึ้นในรุ่นแรกจะเป็นอาคาร 2 ชั้น มีเนื้อที่ ใช้ส้อยประมาณ 320 ตารางเมตร และมีรูปทรงที่คล้ายคลึงกัน จะต่างกันเฉพาะบริเวณหลังคาและจั่ว ทั้งนี้เป็นไปตามมติของคณะกรรมการอ านวยการโครงการที่ก าหนดให้ห้องสมุด มีทั้งเอกลักษณะเฉพาะของ ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” และในขณะเดียวกันให้มีเอกลักษณ์เฉพาะภาค
1. ประโยชน์ของแหล่งเรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตเปรียบเสมือนชุมชนเมืองแห่งใหม่ของโลก เป็นชุมชนของคนทั่วมุมโลก จึงมี บริการ ต่าง ๆ เกิดขึ้นใหม่ตลอดเวลา ในที่นี้จะกล่าวถึงประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตหลกั ๆ ดังนี้
1.1 ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic mail) หรือ E-mail เป็นการส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยผู้ส่งจะต้องส่งข้อความไปยังที่อยู่ของผู้รับ ซึ่งเป็นที่อยู่ในรูปแบบของอีเมล์ เมื่อผู้ส่งเขียนจดหมาย 1 ฉบบั แล้วส่งไปยังที่อยู่นั้น ผู้รับจะได้รับจดหมายภายในเวลาไม่กี่วินาที แม้จะอยู่ ห่างกันคนละซีกโลกก็ตาม นอกจากนี้ยังสามารถส่งแฟ้มข้อมูลหรือไฟล์แนบไปกับอีเมล์ได้ด้วย
1.2 การขอเขา้ระบบจากระยะไกลหรือเทลเน็ต (Telnet) เป็นการบริการอินเทอร์เน็ตรูปแบบ หนึ่ง โดยที่เราสามารถเขา้ไปใช้งานคอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่งที่อยู่ไกล ๆ ได้ด้วยตนเอง เช่น ถ้าเราอยู่ที่โรงเรียน ทา งานโดยใช้อินเทอร์เน็ตของโรงเรียนแล้วกลับไปที่บ้าน เรามีคอมพิวเตอร์ที่บ้านและต่อ อินเทอร์เน็ตไว้ เราสามารถเรียกขอ้มูลจากที่โรงเรียนมาทา ที่บ้านได้ เสมือนกับเราทำงานที่โรงเรียนนั่นเอง
1.3 การโอนถ่ายข้อมูล (File Transfer Protocol หรือ FTP) เป็นการบริการอีกรูปแบบหนึ่ง ของ ระบบอินเทอร์เน็ต เราสามารถค้นหาและเรียกข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ มาเก็บไว้ในเครื่องของเราได้ทั้งข้อมูล ประเภทตัวหนังสือ รูปภาพ และเสียง
1.4 การสืบค้นข้อมูล (Gopher, Archie, World wide Web) หมายถึง การใช้เครือข่าย อินเทอร์เน็ต ในการค้นหาข่าวสารที่มีอยู่มากมายแล้วช่วยจัดเรียงข้อมูลข่าวสารหัวข้ออย่างมีระบบ เป็นเมนูทา ให้เราหา ข้อมูลได้ง่ายหรือสะดวกมากขึ้น
1.5 การแลกเปลี่ยนข่าวสารและความคิดเห็น (Usenet) เป็นการให้บริการแลกเปลี่ยนข่าวสารและ แสดงความคิดเห็นที่ผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ตทั่วโลกสามารถพบปะกัน แสดงความคิดเห็นของตน โดยมีการ จัดการผู้ใช้เป็นกลุ่มหรือนิวกรุ๊ป (New Group) แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันเป็นหัวข้อต่าง ๆ เช่นเรื่อง หนังสือ เรื่องการเลี้ยงสัตว์ ตน้ไม้ คอมพิวเตอร์ และการเมือง เป็นตน้ ปัจจุบันมี Usenet มากกว่า 15,000 กลุ่ม นับเป็นเวทีขนาดใหญ่ให้ทุกคนจากทั่วมุมโลกแสดงความคิดเห็นอย่างกว้างขวาง
1.6 การสื่อสารด้วยขอ้ความ (Chat, IRC-Internet Relay Chat) เป็นการพูดคุยระหว่างผู้ใช้ อินเทอร์เน็ตโดยพิมพ์ข้อความตอบกัน ซึ่งเป็นวิธิีการสื่อสารที่ได้รับความนิยมมากอีกวิธีหนึ่ง การสนทนา กันผ่านอินเทอร์เน็ตเปรียบเสมือนเรานั่งอยู่ในห้องสนทนาเดียวกัน แต่ละคนก็พิมพ์ข้อความโต้ตอบกันไป มาได้ในเวลาเดียวกัน แม้จะอยู่คนละประเทศหรือคนละซีกโลกก็ตาม (อา้งอิงจากhttp://www.geocities.com/useng_9/33.htm 9 มีนาคม 2522) 1.7 การซื้อขายสินค้าและบริการ (E-Commerce = Electronic Commerce) เป็นการจับจ่ายซื้อ สินคา้และบริการ เช่น ขายหนังสือ คอมพิวเตอร์ การท่องเที่ยว เป็นตน้ ปัจจุบันมีบริษที่ใช้ อินเทอร์เน็ต ใน การทำธุรกิจและให้บริการลูกค้าตลอด 24 ชั่วโมง ในปี พ.ศ. 2540 การค้าขายบนอินเทอร์เน็ตมีมูลค่าสูงถึง 1 แสนลา้นบาท และจะเพิ่มเป็น 1 ล้านล้านบาท ในอีก 5 ปีข้างหนา้ ซึ่งเป็นโอกาสธุรกิจแบบใหม่ที่น่าสนใจ และเปิดทางให้ทุกคนเข้ามาทำธุรกรรมไม่มากนัก 1.8 การให้ความบันเทิง (Entertain) ในอินเทอร์เน็ตมีบริการดา้นความบันเทิงในทุกรูปแบบต่าง ๆ เช่น เกม เพลง รายการโทรทัศน์ รายการวิทยุ เป็นต้น เราสามารถเลือกใช้ บริการเพื่อความบันเทิง ได้ตลอด 24 ชั่วโมง และจากแหล่งต่าง ๆ ทั่วทุกมุมโลก ทั้งประเทศไทย อเมริกา ยุโรป และ ออสเตรเลีย เป็นต้น
2. โทษของแหล่งเรียนรู้ผ่านเครือข่ายอนิเทอร์เน็ต ทุกสรรพสิ่งในโลกย่อมมีทั้งด้านที่เป็นคุณประโยชน์และด้านที่เป็นโทษ เปรียบเสมือน เหรียญที่มี 2 ด้านเสมอ ขึ้นอยู่กับว่าเราจะเลือกใช้อย่างไรให้เกิดผลดีต่อเรา ขอยกตัวอย่างโทษที่อาจจะเกิดขึ้นได้จาก การใช้งานอินเทอร์เน็ต ดังนี้ 2.1 โรคติดอินเทอร์เน็ต (Webaholic) ถ้าจะถามว่าอินเทอร์เน็ตก็เป็นสิ่งเสพติดหรือ ก็คงไม่ใช่ แต่ ถ้าเปรียบเทียบกันแล้วก็คงไม่แตกต่าง หากการเล่นอินเทอร์เน็ตท าให้คุณเสียงานหรือแม้แต่ทำลายสุขภาพ
2.2 อินเทอร์เน็ตท าให้รู้สึกหมกมุ่น มีความต้องการใช้อินเทอร์เน็ตเป็นเวลานานขึ้น ไม่สามารถ ควบคุมการใชอินเทอร์เน็ตได้ รู้สึกหงุดหงิดเมื่อต้องใชอินเทอร์เน็ตนอ้ยลงหรือหยุดใช้ อินเทอร์เน็ตเป็นวิธี ในการหลีกเลี่ยงปัญหาหรือคิดว่าการใช้อินเทอร์เน็ตท าให้ตนเองรู้สึกดีขึ้น หลอกคนในครอบครัวหรือเพื่อน เรื่องการใช้อินเทอร์เน็ตของตัวเอง การใช้อินเทอร์เน็ตท าให้เกิดการเสี่ยงต่อการสูญเสียงาน การเรียน และ
ความสัมพันธ์ ยังใช้อินเทอร์เน็ตถึงแม้ว่าต้องเสียค่าใช้จ่ายมาก มีอาการผิดปกติ อย่างเช่น หดหู่ กระวน กระวายเมื่อเลิกใชอินเทอร์เน็ต ใช้เวลาในการใช้เวลาเทอร์เน็ต นานกว่าที่ตัวเองได้ตั้งใจไว้
2.3 เรื่องอนาจารผิดศีลธรรม เรื่องของข้อมูลต่าง ๆ ที่มีเนื้อหาไปในทางขัดต่อศีลธรรม ลามก อนาจาร หรือรวมถึงภาพโป๊เปลือยต่าง ๆ นั้นเป็นเรื่องที่มีมานานพอสมควรแล้วบนโลกอินเทอร์เน็ต แต่ไม่ โจ่งแจ้ง เนื่องจากสมัยก่อนเป็นยุคที่ www ยังไม่พัฒนามากนัก ท าให้ไม่มีภาพออกมา แต่ในปัจจุบันภาพ เหล่านี้เป็นที่โจ่งแจ้งบนอินเทอร์เน็ต และสิ่งเหล่านี้สามารถเข้าสู่เด็กและเยาวชนได้ง่าย โดยผู้ปกครองไม่ สามารถที่จะให้ความดูแลได้เต็มที่ เพราะว่าอินเทอร์เน็ตนั้นเป็นโลกที่ไร้พรมแดน และเปิดกว้างทา ให้สื่อ เหล่านี้สามารถเผยแพร่ไปได้รวดเร็ว จนเราไม่สามารถจับกุมหรือเอาผิดผู้ที่ท าสิ่งเหล่านี้ขึ้นมา
2.4 ไวรัส มาโทรจันหนอนอินเทอร์เน็ต และระเบิดเวลา ทำให้ข้อมูลที่เก็บไว้ถูกทำลายหมด ไวรัส เป็นโปรแกรมอิสระซึ่งจะสืบพันธุ์โดยการจำลองตัวเองให้มากขึ้นเรื่อย ๆ เพื่อที่จะทำลายขอ้มูล หรือ อาจทำ ให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทา งานชา้ลง โดยการแอบใช้สอยหน่วยความจ า หรือพื้นที่ว่างบนดิสก์ โดย พลการ หนอนอินเทอร์เน็ต ถูกสร้างขึ้นโดย Robert Morris, Jr. จนดังกระฉ่อนไปทั่วโลก มันคือ โปรแกรมที่จะสืบพันธุ์โดยการจำลองตัวเองมากขึ้นเรื่อย ๆ จากระบบหนึ่ง ครอบครองทรัพยากร และทา ให้ ระบบชำ้ลง ระเบิดเวลา คือ รหัสซึ่งจะท าหน้าที่เป็นตัวกระตุ้นรูปแบบเฉพาะของการโจมตีนั้น ๆ ทา งาน เมื่อ สภาพการโจมตีนั้น ๆ มาถึง เช่น ระเบิดเวลาจะท าลายไฟล์ทั้งหมดในวันที่ 31 กรกฎาคม 2542 ส่วนโทษเฉพาะที่เป็นภัยต่อเด็กมีอยู่ 7 ประการ บนอินเทอร์เน็ตสามารถจำแนกออกได้ ดังนี้
1. การแพร่สื่อลามก มีทั้งที่เผยแพร่ภาพลามกอนาจาร ภาพการสมสู่ ภาพตัดต่อลามก
2. การล่อล่วง โดยปล่อยให้เด็กและเยาวชนเข้าไปพูดคุยกันใน Chat จนเกิดการล่อลวง นัดหมาย ไปข่มขืนหรือท าในสิ่งที่เลวร้าย
3. การคา้ประเวณี มีการโฆษณาเพื่อขายบริการ รวมทั้งชักชวนให้เข้ามาสมัครขายบริการ
4. การขายสินคา้อันตราย มีตั้งแต่ยาสลบ ยาปลุกเซ็กซ์ ปืน เครื่องช็อตไฟฟ้า
5. การเผยแพร่การท าระเบิด โดยอธิบายขั้นตอนการท างานอย่างละเอียด
6. การพนันมีให้เข้าไปเล่นได้ในหลายรูปแบบ
7. การเล่มเกม มีทั้งเกมที่รุนแรงไล่ฆ่าฟัน และเกมละเมิดทางเพศ
3. มารยาทในการใช้อินเทอร์เน็ตเป็นแหล่งเรียนรู้ ทุกวันนี้อินเทอร์เน็ตได้เข้ามามีบทบาทและส่งผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์ในแทบ ทุกด้าน รวมทั้งได้ก่อให้เกิดประเด็นปัญหาขึ้นในสังคม ไม่ว่าในเรื่องความเป็นส่วนตัว ความปลอดภัย เสรีภาพของการพูดอ่านเขียน ความซื่อสัตย์ รวมถึงความตระหนักในเรื่องพฤติกรรมที่เราปฏิบัติต่อกันและ กันในสังคมอินเทอร์เน็ต ในเรื่องมารยาท หรือจรรยามารยาทบนอินเตอร์เน็ต ซึ่งเป็นพื้นที่ที่เปิดโอกาสให้ ผู้คนเขา้มาแลกเปลี่ยน สื่อสาร และท ากิจกรรมร่วมกัน ชุมชนใหญ่บ้างเล็กบ้างบนอินเทอร์เน็ตนั้นก็ไม่ต่าง จากสังคมบนโลกแห่งความเป็นจริงที่จ าเป็นต้องมีกฎกติกา (Codes of Conducr) เพื่อใช้เป็นกลไกสำหรับ การกำกับดูแลพฤติกรรมและการปฏิสัมพันธ์ของสมาชิก