๒. ผลลัพธ์การเรียนรู้ ของผู้เรียนที่คาดหวัง


2. ผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนที่คาดหวัง 


        ข้าพเจ้าได้พัฒนาข้อตกลง ประเด็นท้าทายเรื่อง  การริเริ่ม และพัฒนาสื่อนวัตกรรมการเรียนรู้ ทักษะในงานเชื่อมไฟฟ้า รายวิชางานเทคนิคและเครื่องมือกลเบื้องต้น ( ๓๐๑๐๐ - ๐๐๑๑ ) ภาคเรียนที่   ปีการศึกษา ๒๕๖๕ โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ STEAM  Education ผ่านห้องเรียนออนไลน์ Google Classroom สาขาวิชาเทคนิคพื้นฐาน วิทยาลัยเทคนิคเชียงราย


ผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนที่คาดหวัง ดังนี้


. เชิงปริมาณ

      นักศึกษาชั้น ปวส./๑-๒ , สาขางานติดตั้งไฟฟ้า   ที่เรียนรายวิชางานเทคนิค และเครื่องมือกลพื้นฐาน  ภาคเรียนที่   ปีการศึกษา ๒๕๖๕ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตั้งแต่เกรด ขึ้นไป จำนวน ๔๒ คน  คิดเป็นร้อยละ๘๘.๑๐  ผ่านเกณฑ์ตามค่าเป้าหมายสถานศึกษากำหนด คือ ผู้เรียนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตั้งแต่เกรด ขึ้นไป ร้อยละ ๗๕

มีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ อยู่ในระดับดี () ขึ้นไป  คิดเป็นร้อยละ๙๐.๔๘ และการอ่าน/คิดวิเคราะห์/ เขียน อยู่ในระดับดี () ขึ้นไป  คิดเป็นร้อยละ ๙๕.๒๔  ผ่านเกณฑ์ตามค่าเป้าหมายสถานศึกษากำหนด

คือ ผู้เรียนมีความสามารถในระดับดี ()  ร้อยละ ๗๕


. เชิงคุณภาพ

        นักศึกษาชั้น ปวส./๑-๒ , สาขางานติดตั้งไฟฟ้า   ที่เรียนรายวิชางานเทคนิค และเครื่องมือกลพื้นฐาน  ภาคเรียนที่   ปีการศึกษา ๒๕๖๕ เกิดความรู้ ความเข้าใจ ทักษะกระบวนการคิด สามารถทำงานร่วมกันกับผู้อื่น  สามารถใช้เทคโนโลยีในการสื่อสาร และสืบค้นข้อมูลด้วยตนเองได้  และมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ STEAM  Education ผ่านห้องเรียนออนไลน์ Google Classroom อยู่ในระดับดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ ๘๘.๑๐


(เอกสารอ้างอิง : ภาคผนวกรายงานผลลัพธ์ตามประเด็นท้าทาย  ดังแนบ)

งานวิจัยขาดทักษะงานเชื่อมไฟฟ้า.pdf
กลุ่มที่ 2

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ร้อยละของนักเรียนที่เกรดเกิน ๒ ได้ร้อยละ ๗๕.๘๘

คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ร้อยละ ๘๔.๒๐ 

การอ่าน/การคิดวิเคราะห์/การเขียน ร้อยละ ๗.๑๐