Search this site
Embedded Files
Skip to main content
Skip to navigation
KRU-MIND
หน้าแรก
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
การประกอบคอมพิวเตอร์
การสืบค้นข้อมูล
กฎหมายการศึกษา
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ
กฎหมายเกี่ยวกับการศึกษาภาค บังคับ
พรบ.การศึกษาสำหรับคนพิการ
พรบ.คุ้มครองเด็ก
พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
กฎระเบียบ หลักเกณฑ์และวิธีการ ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับ สพฐ.
คุณภาพการจัดการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
การจัดการคุณภาพการศึกษา
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
พระราชบัญญัติ สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546
SCRATCH
บทเรียนออนไลน์ KruMind
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 วิทยาการคำนวณ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 วิทยาการคำนวณ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 วิทยาการคำนวณ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ออกแบบ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ออกแบบ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ออกแบบ
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
คู่มือการใช้ Construct 2
KRU-MIND
หน้าแรก
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
การประกอบคอมพิวเตอร์
การสืบค้นข้อมูล
กฎหมายการศึกษา
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ
กฎหมายเกี่ยวกับการศึกษาภาค บังคับ
พรบ.การศึกษาสำหรับคนพิการ
พรบ.คุ้มครองเด็ก
พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
กฎระเบียบ หลักเกณฑ์และวิธีการ ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับ สพฐ.
คุณภาพการจัดการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
การจัดการคุณภาพการศึกษา
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
พระราชบัญญัติ สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546
SCRATCH
บทเรียนออนไลน์ KruMind
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 วิทยาการคำนวณ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 วิทยาการคำนวณ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 วิทยาการคำนวณ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ออกแบบ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ออกแบบ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ออกแบบ
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
คู่มือการใช้ Construct 2
More
หน้าแรก
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
การประกอบคอมพิวเตอร์
การสืบค้นข้อมูล
กฎหมายการศึกษา
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ
กฎหมายเกี่ยวกับการศึกษาภาค บังคับ
พรบ.การศึกษาสำหรับคนพิการ
พรบ.คุ้มครองเด็ก
พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
กฎระเบียบ หลักเกณฑ์และวิธีการ ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับ สพฐ.
คุณภาพการจัดการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
การจัดการคุณภาพการศึกษา
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
พระราชบัญญัติ สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546
SCRATCH
บทเรียนออนไลน์ KruMind
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 วิทยาการคำนวณ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 วิทยาการคำนวณ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 วิทยาการคำนวณ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ออกแบบ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ออกแบบ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ออกแบบ
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
คู่มือการใช้ Construct 2
การสืบค้นข้อมูล
การสืบค้นเพื่อหาแหล่งข้อมูล
การสืบค้นเพื่อหาแหล่งข้อมูล
ในปัจจุบัน การได้มาซึ่งข้อมูลในยุคดิจิทัลเพื่อนำไปใช้ประโยชน์นั้น สิ่งสำคัญสิ่งหนึ่ง คือ ความน่าเชื่อถือของข้อมูลซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญต่อคุณภาพของข้อมูล หากข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้ไม่มีความน่าเชื่อถือ ก็ไม่สามารถนำข้อมูลดังกล่าวไปใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยความน่าเชื่อถือของข้อมูลจำเป็นต้องเริ่มจากการสืบค้นเพื่อหาแหล่งข้อมูลที่มีคุณภาพ จากนั้นจึงดำเนินการประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูลไปตามลำดับ
การสืบค้นแหล่งข้อมูล
คือ กระบวนการค้นหาข้อมูลที่ต้องการโดยใช้เครื่องมือต่าง ๆ เช่นคอมพิวเตอร์การสืบค้นเพื่อหาแหล่งข้อมูลสามารถทำได้ดังนี้
1. การสืบค้นข้อมูลด้วยมือ
เป็นการสืบค้นข้อมูลจากเอกสาร หนังสือ ตำรา โดยสามารถสืบค้นจากสถานที่หรือหน่วยงานที่จัดเตรียมข้อมูลต่าง ๆ ไว้ให้ เช่น ห้องสมุดในโรงเรียน เอกสาร แผ่นพับ แนะนำข้อมูลด้านสุขภาพในโรงพยาบาล
2. การสืบค้นข้อมูลด้วยระบบคอมพิวเตอร์
เป็นการสืบค้นข้อมูลผ่านเทคโนโลยี หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เช่น การสืบค้นข้อมูลจากระบบฐานข้อมูล ข้อมูลออนไลน์ข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต ข้อมูลจากโปรแกรมค้นหา (Search Engine)
การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล
1. ความทันสมัยของข้อมูล (currency) ควรตรวจสอบว่าข้อมูลเผยแพร่เมื่อใด สํารวจและปรับปรุงเมื่อใด
นอกจากนี้ในปัญหาที่สนใจ ควรตรวจสอบว่าสามารถใช้ข้อมูลที่เผยแพร่นานมาแล้วได้หรือไม่
2. ความสอดคล้องกับการใช้งาน (relevance) ควรตรวจสอบว่าข้อมูลเกี่ยวข้องกับปัญหาที่ต้องการหรือไม่
3. ความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูล (authority) พิจารณาความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูล ผู้เผยแพร่มีความ
ชํานาญพอที่จะให้ข้อมูลในเรื่องดังกล่าวหรือไม่สามารถติดต่อผู้เผยแพร่ได้หรือไม่
4. ความถูกต้องแม่นยํา (accuracy) ตรวจสอบความถูกต้องพื้นฐานของข้อมูล ตรวจสอบว่ามีการนําข้อมูลไปvอ้างอิงที่อื่น หรือไม่ หรือมีการตรวจสอบยืนยันความถูกต้องของข้อมูลหรือไม่
5. จุดมุ่งหมายของแหล่งข้อมูล (purpose) ตรวจสอบว่าข้อมูลดังกล่าวถูกพัฒนาขึ้นเพื่อเป้าหมายใด เช่น เพื่อใช้ในการรณรงค์ เผยแพร่เพื่อการโฆษณา หรือเพื่อการศึกษาอื่น ๆ
ขั้นตอนการสืบค้นเพื่อหาแหล่งข้อมูล
1. กำหนดวัตถุประสงค์และหัวข้อการสืบคนให้ชัดเจน
2. กำหนดประเภทของและหัวข้อการสืบค้น
3. กำหนดคำสำคัญสำหรับสืบค้นข้อมูล
4. ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่จากการสืบค้น
ผลกระทบจากการให้ข่าวสารผิด
1. ผู้รับได้ข้อมูลไม่ถูกต้อง ทำให้ตัดสินใจผิดพลาด อาจส่งผลเสียต่อชีวิตและทรัพย์สิน
2. ผู้รับเกิดความตระหนกตกใจ เช่น ข้อมูลเท็จเกี่ยวกับโรคระบาดต่าง ๆ อาจทำให้ผู้คนแตกตื่น แห่กักตุนของกินของใช้
3. ผู้ถูกแอบอ้างได้รับความเสียหาย เช่น ถูกล้อเลียน ดูหมิ่น กลั่นแกล้งรังแก (bully)
4. ข้อมูลที่ทำให้เกิดความขัดแย้งในสังคม เช่น ข้อมูลเท็จทางด้านการเมือง อาจนำไปสู่ความไม่สงบสุขในสังคม สร้างปัญหาระหว่างประเทศได้
ตัวอย่างการสืบค้นเพื่อหาแหล่งข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต เป็นวิธีการสืบค้นด้วยระบบคอมพิวเตอร์ที่กำลังเป็นที่นิยมในปัจจุบันเนื่องจากเป็นแหล่งข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ที่สำคัญและใหญ่ที่สุด มีการอัปเดตข้อมูลอยู่ตลอดเวลา แทบทุกวินาทีการสืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตควรดำเนินการดังนี้
1. กำหนดวัตถุประสงค์ของการสืบค้น
ผู้สืบค้นที่จะนำข้อมูลไปใช้ ควรตั้งวัตถุประสงค์การสืบค้นให้ชัดเจน ทำให้สามารถขอบเขตของแหล่งข้อมูลที่จะสืบค้นให้แคบลง เพื่อกำหนดประเภทของเครื่องมือหรือโปรแกรมใช้ในการสืบค้นทางอินเทอร์เน็ต ที่เรียกว่าโปรแกรมค้นหาให้เหมาะสม
2. ประเภทของข้อมูลที่สามารถสืบค้นได้
ข้อมูลที่อยู่บนอินเทอร์เน็ตมีมากมายหลายประเภท เช่น ข้อความภาพวาดภาพ ถ่ายเสียงจากเทคโนโลยีการสืบค้นที่มีอยู่ในปัจจุบัน การสืบค้นที่เร็วและมีประสิทธิภาพมากที่สุด คือการสืบค้นข้อมูลประเภทข้อความ
3. อุปกรณ์และความรู้ที่ใช้ในการสืบค้น
จะต้องมีการเตรียมอุปกรณ์ดังต่อไปนี้ เครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต นอกจากอุปกรณ์ต่าง ๆ ยังต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานในการใช้งานคอมพิวเตอร์ ความรู้ภาษาอังกฤษ เนื่องจากข้อมูลส่วนใหญ่ในอินเทอร์เน็ต เป็นภาษาอังกฤษและยังต้องมีการจัดสรรเวลาให้เหมาะสมอีกด้วย
4. บริการอินเทอร์เน็ต
เป็นบริการที่สามารถใช้ช่วยในการสืบค้นข้อมูล ซึ่งมีมากมายหลายบริการ เช่น บริการเครือข่ายใยแมงมุมโลกหรือ Word-Wide-Web (WWW) บริการสอบถามผ่านทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์หรือการสนทนาออนไลน์กับผู้ใช้งาน
5. เครื่องมือหรือโปรแกรมสำหรับสืบค้น
มีอยู่มากมายและมีให้บริการอยู่ตามเว็บไซต์ต่าง ๆ ที่ให้บริการในการสืบค้นข้อมูลโดยเฉพาะ การเลือกใช้นั้นขึ้นอยู่กับประเภทของข้อมูลที่ต้องการสืบค้นจากโปรแกรมค้นหาต่าง ๆ
ในประเทศไทยการเรียนการสอนเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตส่วนใหญ่เป็นไปในลักษณะของการเปิดอบรมหลักสูตรระยะสั้นให้แก่สมาชิกเครือข่ายหรือประชาชนผู้สนใจทั่วไป แต่จะมีสถาบันการศึกษาหลายแห่งได้จัดให้มีการเรียนการสอนเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตโดยจัดให้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษารายวิชาต่าง ๆ ให้แก่นักศึกษาทั้งนี้เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการที่จะนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการค้นคว้าวิจัยหรือทำรายงานในรายวิชาต่าง ๆ และเป็นการเรียนรู้ด้วยตนเอง
Google Sites
Report abuse
Page details
Page updated
Google Sites
Report abuse