Search this site
Embedded Files
Skip to main content
Skip to navigation
KRU-MIND
หน้าแรก
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
การประกอบคอมพิวเตอร์
การสืบค้นข้อมูล
กฎหมายการศึกษา
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ
กฎหมายเกี่ยวกับการศึกษาภาค บังคับ
พรบ.การศึกษาสำหรับคนพิการ
พรบ.คุ้มครองเด็ก
พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
กฎระเบียบ หลักเกณฑ์และวิธีการ ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับ สพฐ.
คุณภาพการจัดการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
การจัดการคุณภาพการศึกษา
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
พระราชบัญญัติ สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546
SCRATCH
บทเรียนออนไลน์ KruMind
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 วิทยาการคำนวณ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 วิทยาการคำนวณ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 วิทยาการคำนวณ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ออกแบบ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ออกแบบ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ออกแบบ
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
คู่มือการใช้ Construct 2
KRU-MIND
หน้าแรก
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
การประกอบคอมพิวเตอร์
การสืบค้นข้อมูล
กฎหมายการศึกษา
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ
กฎหมายเกี่ยวกับการศึกษาภาค บังคับ
พรบ.การศึกษาสำหรับคนพิการ
พรบ.คุ้มครองเด็ก
พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
กฎระเบียบ หลักเกณฑ์และวิธีการ ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับ สพฐ.
คุณภาพการจัดการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
การจัดการคุณภาพการศึกษา
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
พระราชบัญญัติ สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546
SCRATCH
บทเรียนออนไลน์ KruMind
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 วิทยาการคำนวณ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 วิทยาการคำนวณ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 วิทยาการคำนวณ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ออกแบบ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ออกแบบ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ออกแบบ
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
คู่มือการใช้ Construct 2
More
หน้าแรก
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
การประกอบคอมพิวเตอร์
การสืบค้นข้อมูล
กฎหมายการศึกษา
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ
กฎหมายเกี่ยวกับการศึกษาภาค บังคับ
พรบ.การศึกษาสำหรับคนพิการ
พรบ.คุ้มครองเด็ก
พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
กฎระเบียบ หลักเกณฑ์และวิธีการ ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับ สพฐ.
คุณภาพการจัดการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
การจัดการคุณภาพการศึกษา
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
พระราชบัญญัติ สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546
SCRATCH
บทเรียนออนไลน์ KruMind
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 วิทยาการคำนวณ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 วิทยาการคำนวณ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 วิทยาการคำนวณ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ออกแบบ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ออกแบบ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ออกแบบ
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
คู่มือการใช้ Construct 2
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์
ตัวแปลภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการแปลความหมายของคำสั่งในภาษาคอมพิวเตอร์ชนิดต่าง ๆ ไปเป็นภาษาเครื่อง ซึ่งเป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจและทำงานตามคำสั่งได้ โดยโปรแกรมที่เขียนจะเป็นโปรแกรมต้นฉบับหรือซอร์สโค้ด (source code) ซึ่งโปรแกรมเมอร์เขียนคำสั่งตามหลักการออกแบบโปรแกรม และจำเป็นต้องใช้ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์เพื่อตรวจสอบไวยากรณ์ของภาษาว่าเขียนถูกต้องหรือไม่ และทดสอบผลลัพธ์ว่าเป็นอย่างไร ซึ่งภาษาคอมพิวเตอร์ชนิดต่าง ๆ จะมีตัวแปลภาษาของตนเองโดยเฉพาะ โปรแกรมที่แปลจากโปรแกรมต้นฉบับแล้วจะเรียกว่าออบเจ็คโค้ด (object code) ซึ่งเป็นภาษาเครื่องที่ประกอบด้วย รหัสคำสั่งที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปปฏิบัติได้ต่อไป ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์มีการใช้งานสำหรับการแปลภาษาคอมพิวเตอร์ชนิดต่างๆ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท
1.แอสเซมเบลอร์ (Assembler)
การใช้ภาษาแอสเซมบลีจำเป็นต้องผ่าน
การแปลภาษา
ด้วย
คอมไพเลอร์
เฉพาะเรียกว่า
แอสเซมเบลอร์
(
assembler
) ให้อยู่ในรูปของรหัสคำสั่งก่อน (เช่น .OBJ) โดยปกติ ภาษานี้ค่อนข้างมีความยุ่งยากในการใช้งาน และการเขียนโปรแกรมเป็นจำนวนบรรทัดมากมากกว่า เมื่อเปรียบเทียบกับการใช้ภาษาระดับสูง เช่น
ภาษา C
หรือ
ภาษา BASIC
แต่จะทำให้ได้ผลลัพธ์การทำงานของโปรแกรมเร็วกว่า และขนาดของตัวโปรแกรมมีขนาดเนื้อที่น้อยกว่าโปรแกรมที่สร้างจากภาษาอื่นมาก จึงนิยมใช้ภาษานี้เมื่อต้องการประหยัดเวลาทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ และเพิ่มประสิทธิภาพของโปรแกรม
2. อินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter)
เป็นตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงไปเป็นภาษาเครื่อง โดยใช้หลักการแปลคำสั่งครั้งละ 1 คำสั่งให้เป็นภาษาเครื่อง แล้วนำคำสั่งที่เป็นภาษาเครื่องนั้นไปทำการประมวลผล และแสดงผลลัพธ์ทันทีหากไม่พบข้อผิดพลาด หลังจากนั้นจะแปลคำสั่งถัดไปเรื่อยๆจนกว่าจะจบโปรแกรม ในระหว่างการแปลคำสั่ง ถ้าหากพบข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ของภาษา โปรแกรมอินเทอร์พรีเตอร์ก็จะหยุดการทำงานพร้อมแจ้งข้อผิดพลาดให้ทำการแก้ไขซึ่งทำได้ง่ายและรวดเร็ว แต่ออบเจ็คโค้ดที่ได้จากการแปลคำสั่งโดยใช้อินเทอพรีเตอร์นั้นไม่สามารถเก็บไว้ใช้ใหม่ได้ จะต้องแปลโปรแกรมใหม่ทุกครั้งที่ต้องการใช้งาน ทำให้โปรแกรม ทำงานได้ค่อนข้างช้า
3. คอมไพเลอร์ (Compiler)
เป็นตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงไปเป็นภาษาเครื่อง โดยทำการตรวจสอบความถูกต้องของการเขียนคำสั่งทั้งหมดทั้งโปรแกรมให้เป็นออบเจ็คโค้ด แล้วจึงทำการแปลคำสั่งไปเป็นภาษาเครื่อง จากนั้นจึงทำการประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ หากพบข้อผิดพลาดของการเขียนโปรแกรม หรือมีคำสั่งที่ผิดหลักไวยากรณ์ของภาษาคอมพิวเตอร์ โปรแกรมคอมไพเลอร์จะแจ้งให้โปรแกรมเมอร์ทำการแก้ไขให้ถูกต้องทั้งหมดก่อนแล้วจึงคอมไพล์ใหม่อีกครั้งจนกว่าไม่พบข้อผิดพลาดถึงจะนำโปรแกรมไปใช้งานได้
ข้อดีของคอมไพเลอร์ คือโปรแกรมออปเจ็คโค้ดที่ได้จะรวบรวมคำสั่งที่สำคัญในการรันโปรแกรมไม่ต้องเสียเวลาในการแปลใหม่ทุกครั้ง ทำให้การทำงานของโปรแกรมเป็นไปอย่างรวดเร็ว จึงเป็นรูปแบบการแปลที่ได้รับความนิยมอย่างมาก
องค์ประกอบของโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์
ในการเขียนโปรแกรมนั้นแต่ละภาษาจะมีการใช้คำสั่งที่ต่างกันแต่ส่วนใหญ่จะมีองค์ประกอบที่คล้ายกันดังนี้
1.ส่วนหัวของโปรแกรม
2. ส่วนกำหนดตัวแปร
3. ส่วนของการเขียนคำสั่งควบคุมการทำงานของโปรแกรม
4. ส่วนแสดงผล
5. ส่วนปิดโปรแกรม
1. โครงสร้างของภาษาซี
#include <stdio.h> >>> Header
Main(){ >>> Function
statement; >>> Statment
statement; >>> Statment
statement; >>> Statment
/*comment*/ >>> Comment
} >>> End
ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมภาษาซีตามโครงสร้าง
โปรแกรม
คำอธิบาย
1
#include<stdio.h>
ส่วนหัวของโปรแกรม
2
main()
ส่วนฟังก์ชัน
3
{
ส่วนของการเปิดโปรแกรม
4
int a,b,area;
ส่วนของการกำหนดตัวแปร
5
printf (“Enter long:”)
ส่วนของคำสั่ง
6
scanf (“%d”,&a);
7
printf (“Enter high:”)
8
scanf (“%d”,&b);
9
area=a*b
10
Printf(“area%d\n”,area);
11
scanf (“%d”,area);
12
}
ส่วนของการปิดโปรแกรม
Google Sites
Report abuse
Page details
Page updated
Google Sites
Report abuse