ST32281 Computing SCience II

หน่วยที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า

[01] ข้อมูลมีคุณค่า และ Big Data

[2] กิจกรรมที่ 1.1 ข้อมูลใกล้ตัว

  1. ให้นักเรียนบอกชื่อ หน่วยงาน บริษัท หรือ องค์กร ที่มีการเก็บ Big data

  2. หน่วยงาน บริษัท หรือ องค์กร นั้น เก็บข้อมูลเกี่ยวกับอะไร

  3. หน่วยงาน บริษัท หรือ องค์กร นั้น นำ Big data ไปใช้ประโยชน์อย่างไร

รู้จักกับวิทยาการข้อมูล (data science)

[02] รู้จักกับวิทยาการข้อมูล (data science)

[3] แบบทดสอบ เรื่อง Big data และ Data Science

กระบวนการวิทยาการข้อมูล (data science process)

[03] กระบวนการวิทยาการข้อมูล (data science process)

[2] แบบทดสอบ เรื่อง กระบวนการวิทยาการข้อมูล (data science process)

ข้อมูลเปลี่ยนมุมมอง

[04] การตั้งคำถาม

[3] กิจกรรมที่ 1.2 ข้อมูลเปลี่ยนมุมมอง*

  • ให้นักเรียนตั้งคำถามเกี่ยวกับ Covid-19 จำนวน 3 คำถาม จากแผนภาพในลิงก์ โดยระบุว่าตั้งคำถามจากภาพใน slide ใด (ระบุตามหมายเลขใน slide)

หน่วยที่ 2 การเก็บรวบรวมข้อมูลและการสํารวจข้อมูล

การเก็บรวบรวมข้อมูล

[05] การเก็บรวบรวมข้อมูล

[3] กิจกรรมที่ 2.1 สํารวจข้อมูลใกล้ตัว

  1. ให้นักเรียนกำหนดหัวข้อในการสำรวจข้อมูลสิ่งที่อยู่ใกล้ตัว

  2. บอกเหตุผลว่าเมื่อสำรวจข้อมูลนี้แล้ว ทำแล้วจะได้ประโยชน์อะไร

  3. ให้นักเรียน เลือกวิธีการเก็บข้อมูลแบบปฐมภูมิ

(สัมภาษณ์ / สำรวจ / สังเกต / สอบถาม / ทดลอง)

  1. ให้นักเรียนตั้งคำถาม เพื่อใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล อย่างน้อย 5 คำถาม

  2. หากนักเรียนเลือกวิธีการเก็บข้อมูลแบบทุติยภูมิ ให้ระบุแหล่งที่มาของข้อมูล

[2] แบบทดสอบ เรื่อง การรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ

ความเหมาะสมของแหล่งข้อมูล

[05.2] ความเหมาะสมของแหล่งข้อมูล

[2] กิจกรรมที่ 2.2 ความเหมาะสมของแหล่งข้อมูล

  • ให้นักเรียนพิจารณาตัวอย่างการเลือกใช้ข้อมูลต่อไปนี้ และอธิบายถึงความเหมาะสม และผลกระทบที่เกิดขึ้นหากใช้ข้อมูลในทางไม่เหมาะสม

การเตรียมข้อมูล

[05.3] การเตรียมข้อมูล

กิจกรรมที่ 2.3 การเตรียมข้อมูล

  • ให้นักเรียนระบุข้อผิดพลาด พร้อมอธิบายเหตุผล

  • ให้นักเรียนใช้กระบวนการวิทยาการข้อมูลเพื่อตอบคำถามของสถานการณ์ดังต่อไปนี้

“โรงเรียนแห่งหนึ่งต้องการศึกษาพฤติกรรมของนักเรียนใน แต่ละวัน โดยเก็บข้อมูลการทำกิจกรรมต่าง ๆ ได้แก่ จำนวน ข้อความที่ส่งหาเพื่อน เวลาที่ใช้ในการทำกิจกรรมกับเพื่อน เวลาที่ใช้ในการทำการบ้าน จำนวนข้อความที่ได้รับจากเพื่อน”

การสํารวจข้อมูล

[06] การสำรวจข้อมูล

กิจกรรมที่ 2.4 การสํารวจข้อมูล

  • ให้นักเรียนบอกจุดเด่นของการใช้กราฟในการสำรวจข้อมูล เหมาะสำหรับใช้เปรียบเทียบข้อมูลลักษณะใด หากข้อมูลมีความผิดปกติ กราฟจะมีลักษณะอย่างไร

    1. กราฟเส้น

    2. ฮิสโตแกรม

    3. แผนภาพการกระจาย

    4. แผนภาพกล่อง

แบบทดสอบ เรื่อง การเก็บรวบรวมข้อมูลและการสํารวจข้อมูล

หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ข้อมูล

[08] การวิเคราะห์ข้อมูล

กิจกรรมที่ 3.1 3 คําถามกับการวิเคราะห์ข้อมูล

  • ให้นักเรียนศึกษาข้อมูลจากโจทย์ แล้วตอบคำถาม 3 ข้อ

  1. การวิเคราะห์เชิงพรรณนา (เกิดอะไรขึ้น)

  2. การวิเคราะห์เชิงทำนาย (จะเกิดอะไรขึ้น)

  3. การวิเคราะห์เชิงแนะนำ (ควรจะทำอะไรต่อ)

การวิเคราะห์เชิงพรรณนา*

[302] การวิเคราะห์เชิงพรรณนา

กิจกรรมที่ 3.2 ข้อมูลนี้มีอะไร

  • ให้นักเรียนใช้การคำนวณทางคณิตศาสตร์และสถิติพื้นฐาน เช่น สัดส่วนหรือร้อยละ ค่ากลางของข้อมูล และการกระจายของข้อมูล นำข้อมูลจัดทำเป็นกราฟแล้ววิเคราะห์เชิงพรรณนา

การหาความสัมพันธ์ของชุดข้อมูล*

[303] การหาความสัมพันธ์ของชุดข้อมูล

กิจกรรมที่ 3.3 สัมพันธ์กันหรือไม่

  • ให้นักเรียนหาค่าความสัมพันธ์ โดยใช้ฟังก์ชัน CORREL

(ช่วงของข้อมูลชุดที่ 1,ช่วงของข้อมูลชุดที่ 2)

การทํานายเชิงตัวเลข*

[304] การทํานายเชิงตัวเลข

กิจกรรมที่ 3.4 ผลทํานายใครแม่น

  • ให้นักเรียนใช้ชุดข้อมูลที่กำหนดให้ แล้วสร้างสมการเส้นแนวโน้ม และคำนวณค่าความคลาดเคลื่อนโดยใช้โปรแกรมตารางทํางาน ตามขั้นตอน

กิจกรรมที่ 3.5 รู้แล้วรวย

  • ให้นักเรียนใช้ชุดข้อมูลที่กำหนดให้ จากเว็บไซต์ซึ่งมีการจัดเก็บข้อมูลดังตาราง เนื่องจากข้อมูลชุดนี้อยู่ในรูปแบบที่ไม่สามารถนําไปวิเคราะห์ได้

  • ให้นักเรียนจัดเตรียมข้อมูลในรูปแบบที่เหมาะสม และทำนายเชิงตัวเลข

การทํานายเชิงหมวดหมู่

[305] การทํานายเชิงหมวดหมู่

กิจกรรมที่ 3.6 ชีวิตฉันคล้ายใคร*

    1. ให้นักเรียนกําหนดตัวชี้วัดเกี่ยวกับนักเรียนและเพื่อนในกลุ่ม และบอกระดับความชอบเป็น 1-5

    2. สร้างกราฟเรดาร์หลังจากนั้นให้นักเรียนแต่ละคนในกลุ่มกรอกข้อมูลระดับความชอบของแต่ละตัวชี้วัดให้ครบถ้วนใน Google Sheets หลังจากนั้นให้สังเกตและเปรียบเทียบในกลุ่มตนเองว่ากราฟของนักเรียนเหมือน

    3. ให้ทุกคนหาว่า เพื่อนคนใดมีความใกล้เคียงกับตนเองมากที่สุด

    4. ให้อภิปรายว่าทําการเปรียบเทียบอย่างไร และนิยามคําว่า ใกล้เคียง อย่างไร

กิจกรรมที่ 3.7 ตัวนี้พวกไหนดี

กิจกรรมที่ 3.8 K ไหนดีกว่า

หน่วยที่ 4 แนวคิดเชิงออกแบบและการทําข้อมูลให้เป็นภาพ

แนวคิดเชิงออกแบบ (design thinking)

[401] การคิดเชิงออกแบบ (design thinking)

กิจกรรมที่ 4.1 คิดแบบนักออกแบบ

ให้กำหนดคำถามที่ใช้ในการเก็บข้อมูลความต้องการ และผลกระทบทั้งทางบวกและทางลบ จากกลุ่มพ่อค้า/แม่ค้า และลูกค้า เพื่อตอบคำถามต่อไปนี้

  1. ใครคือกลุ่มเป้าหมาย

  2. ผลิตภัณฑ์เป็นที่ถูกใจผู้ซื้อหรือไม่เพราะเหตุใด

  3. จะมีแนวทางการทำให้ผลิตภัณฑ์นี้ขายดีขึ้นอย่างไร

  4. ข้อมูลเพิ่มเติมมีอะไรบ้างและหาได้จากที่ใด


การทำข้อมูลให้เป็นภาพ (Data Visualization)

[402] การทำข้อมูลให้เป็นภาพ (Data Visualization)

กิจกรรมที่ 4.2 การทำข้อมูลให้เป็นภาพ

ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 10 กลุ่ม ศึกษาตัวอย่างการทำข้อมูลให้เป็นภาพจากเว็บไซต์ https://www.tableau.com/learn/articles/best-beautiful-data-visualization-examples โดยแต่ละกลุ่ม เลือกภาพมา1 ภาพ ไม่ซ้ำกันและนำเสนอถึงจุดเด่นของภาพกลุ่มตัวเอง


การนำเสนอข้อมูลด้วยแผนภูมิ

กิจกรรมที่ 4.3 การนำเสนอข้อมูล

ให้นักเรียนศึกษาแผนภูมิชนิดต่างๆ 10 แบบ เช่น แผนภูมิแท่น ฮิสโทแกรม แผนภาพแบบกระจาย แผนภาพกล่อง เป็นต้น

  1. หาตัวอย่างรูปแผนภูมิ

  2. จุดเด่น/ข้อดี

  3. จุดด้อย/ข้อจำกัด

  4. แผนภูมินี้เหมาะสมกับการนำเสนอข้อมูล แบบใด

การทำข้อมูลให้เป็นภาพอย่างเหมาะสม*

[403] การทำข้อมูลให้เป็นภาพอย่างเหมาะสม

ข้อควรระวังในการนําเสนอข้อมูล*

[404] ข้อควรระวังในการนำเสนอข้อมูลด้วยภาพ

การเล่าเรื่องราวจากข้อมูล *

[405] การเล่าเรื่องราวจากข้อมูล

กิจกรรมที่ 4.4 ร้อยเรียงเรื่องราวสู่สังคม

ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกประเด็นใดประเด็นหนึ่งต่อไปนี้

    1. ด้านการพัฒนาสังคม เช่น ขยะ พลังงาน ทรัพยากร

    2. ด้านการดูแลสุขภาพ เช่น สมุนไพร สุขลักษณะ การออกกำลังกาย

    3. ด้านวัยรุ่น เช่น Bully การค้นหาตัวเอง โรคซึมเศร้า โกงข้อสอบ เพศ

ให้สมาชิกในกลุ่มร่วมกันอภิปรายในประเด็นที่เลือก โดยพิจารณาจากมุมมองของผู้ที่เกี่ยวข้อง หรือผู้ได้รับผลกระทบทุกกลุ่ม เพื่อตัดสินใจเลือกหัวข้อโครงงานและเขียนเค้าโครงโครงงาน

นําเสนอโครงงานวิทยาการข้อมูล