ST31101 Computing SCience I

หน่วยที่ 1 แนวคิดเชิงคำนวณ (Computational Thinking) [15]

[02] แนวคิดเชิงคำนวณ

(คาบที่ 1)

(คาบที่ 2)

กิจกรรมที่ 1.1 แนวคิดเชิงคำนวณในชีวิตจริง [2]

  1. ใหันักเรียนบอกสถานการณ์ที่สามารถนำแนวคิดเชิงคำนวณไปประยุกต์ใช้ สถานการณ์ดังกล่าวมีส่วนประกอบใดบ้างของแนวคิดเชิงคำนวณ พร้อมอธิบาย

ขั้นตอนวิธี (algorithm)

[03] ขั้นตอนวิธี (algorithm)

(คาบที่ 3)

  • กิจกรรม บ้านเธอ บ้านฉัน

  • กิจกรรม ไปให้ครบทุกที่

  • กิจกรรม หา ห.ร.ม.

กิจกรรมที่ 1.2 ขั้นตอนการเดินทางจากโรงเรียนไปบ้านของนักเรียน [2]

  • ให้นักเรียนเขียนขั้นตอนการเดินทางจากโรงเรียนไปบ้านของนักเรียน เป็นข้อโดยละเอียด

  • พร้อมวาดแผนที่การเดินทางจากโรงเรียนไปบ้านของนักเรียน

การแยกส่วนประกอบและการย่อยปัญหา (decomposition)

[04] การแยกส่วนประกอบและการย่อยปัญหา

(คาบที่ 4)

กิจกรรมที่ 1.3 ชีวิตประจําวันกับการแยกส่วนประกอบ [3]

ให้นักเรียนพิจารณากิจกรรมต่อไปนี้ แล้วอธิบายขั้นตอนโดยใช้วิธีคิดแบบแยกส่วนประกอบ โดยเขียนขั้นตอนการทำงานโดยใช้วิธีคิดแบบแยกส่วนประกอบ

  • การทำข้อสอบแบบเลือกตอบ

  • การรับประทานอาหารกลางวันที่โรงเรียน

  • การวางแผนไปทัศนศึกษา

  • การซื้อสินค้าออนไลน์

  • การเตรียมเสื้อกีฬาสี

  • การจัดบอร์ดนิทรรศการในห้องเรียน

  • การจัดทำเวร ทำความสะอาดห้องเรียน

การหารูปแบบ (pattern recognition)

[05] การหารูปแบบ

(คาบที่ 5)

กิจกรรมที่ 1.4 ชีวิตประจําวันกับการหารูปแบบ [1]

  • นักเรียนสามารถนำทักษะการหารูปแบบไปประยุกต์ใช้ในชีวิตระจำวันได้อย่างไร

การคิดเชิงนามธรรม (Abstraction)

[06] การคิดเชิงนามธรรม

(คาบที่ 6)

กิจกรรมที่ 1.5 ลดรายละเอียด สร้างแบบจำลอง [2]

สิ่งของเครื่องใช้รอบตัวมากมายถูกออกแบบให้มีส่วนประกอบมากเกินความจำเป็น ให้นักเรียนเลือกสิ่งของที่มีอยู่มาหนึ่งชิ้น จากนั้นให้สังเกตและกรอกรายละเอียด

  • ชื่อสิ่งของ

  • การใช้งาน

  • ส่วนประกอบที่จำเป็นเพื่อสามารถใช้งานได้

  • ส่วนประกอบที่ไม่จำเป็น

  • ให้ออกแบบสิ่งของนั้นใหม่ โดยให้ตัดส่วนประกอบที่ไม่จำเป็นออกทั้งหมด แล้ววาดรูปตัวอย่างสิ่งของนั้น แล้วให้เพื่อนๆ ทายว่าสิ่งของที่วาดนั้นคืออะไร มาจากสิ่งของใด

แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง แนวคิดเชิงคำนวณ [5]

หน่วยที่ 2 การแก้ปัญหาและขั้นตอนวิธี [15]

[201] การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์

(คาบที่ 7-8)

  • แบบทดสอบก่อนเรียน การแก้ปัญหาและขั้นตอนวิธี

กิจกรรมที่ 2.1 คณะที่ใช่ [2]

  • ถ้าต้องการศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีนักเรียนจะเลือกเรียนคณะหรือสาขาวิชาใด ให้กําหนดเงื่อนไข ความสําคัญ และให้คะแนนเพื่อให้ได้ผลลัพธ์เป็นคณะหรือสาขาวิชาที่เหมาะสมกับนักเรียนมากที่สุด


การระบุข้อมูลเข้า ข้อมูลออก และเงื่อนไขของปัญหา

[202] การระบุข้อมูลเข้า ข้อมูลออก และเงื่อนไขของปัญหา

(คาบที่ 9-10)

กิจกรรมที่ 2.2 ข้อมูลนําเข้า ข้อมูลส่งออก [2]

  • ให้แต่ละกลุ่มวิเคราะห์สถานะการณ์ ข้อมูลเข้าและข้อมูลออก

กิจกรรมที่ 2.3 ระบบอัตโนมัติ [2]

  • ให้แต่ละกลุ่มเลือกศึกษาระบบงาน แล้วตอบคําถาม

การออกแบบขั้นตอนวิธี

[203] การออกแบบขั้นตอนวิธี

(คาบที่ 11-12)

กิจกรรมที่ 2.4 การออกแบบขั้นตอนวิธีโดยใช้ผังงาน (Flowchart) [1]

  • ให้นักเรียนวาดสัญลักษณ์ที่ใช้ในผังงาน โดยใช้มาตรฐานแห่งชาติอเมกัน (The American National Standard Institute : ANSI) ลงในตาราง

กิจกรรมที่ 2.5 เขียนผังงานการทําข้าวผัด [2]

  • ให้นักเรียนใช้สัญลักษณ์ที่ใช้ในผังงาน โดยใช้มาตรฐานแห่งชาติอเมกัน (The American National Standard Institute : ANSI) ออกแบบขั้นตอนการทําข้าวผัด

การออกแบบและพิจารณาเงื่อนไข

[204] การออกแบบและพิจารณาเงื่อนไข

(คาบที่ 13-14)

กิจกรรมที่ 2.6 ฝึกเขียนขั้นตอนวิธี [4]

  • หาคะแนนเฉลี่ยของจำนวน 3 จำนวน

  • หาผลรวมของจำนวน 2 จำนวน

  • หาคะแนนสูงสุดของจำนวนเต็ม 2 จำนวน

  • ตรวจสอบเงื่อนไขว่านักเรียนมีอายุ 18 ปีขึ้นไปหรือไม่
    ถ้าอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป มีสิทธิ์เลือกตั้ง
    แต่ถ้าน้อยกว่า 18 ปี ไม่มีสิทธิ์เลือกตั้ง

การทำซ้ำ

[206] การทำซ้ำ

(คาบที่ 15-16)

กิจกรรมที่ 2.6 ฝึกเขียนขั้นตอนวิธี [2]

  • หาคะแนนสูงสุดของนักเรียนในห้องจำนวน 40 จำนวน

  • ถ้านักเรียนมีเงิน M บาท และมีรายการสินค้าจำนวน A ชนิด
    ให้นักเรียนเขียนขั้นตอนการนับจำนวนสินค้าที่ราคาไม่เกิน M บาท

สอบวัดผลการเรียนรู้กลางภาค [20]

กรอบเนื้อหาที่ออกสอบวัดผลในหน่วยที่ 1 และ 2 (20 คะแนน)

หน่วยที่ 3 การจัดเรียงข้อมูลและค้นหาข้อมูล [10]

การจัดเรียงข้อมูล

[301] การจัดเรียงข้อมูล

(คาบที่ 21-22)

แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง การจัดเรียงข้อมูลและค้นหาข้อมูล

กิจกรรมที่ 3.1 การจัดเรียงข้อมูล [4]

  • จัดเรียงข้อมูล แบบเลือก (ขีด)

  • จัดเรียงข้อมูล แบบ BUBBLE SORT

  • จัดเรียงข้อมูล แบบ SELECTION SORT

  • จัดเรียงข้อมูล แบบ INSERTION SORT

การค้นหาข้อมูล

[302] การค้นหาข้อมูล

(คาบที่ 22-23)

กิจกรรมที่ 3.2 การค้นหาข้อมูล [4]

  • การค้นหาข้อมูล (ตามหาตัวเลขแบบลําดับ)

  • การค้นหาข้อมูล (ตามหาตัวเลขแบบทวิภาค)

  • การค้นข้อมูล

  • สรุปค้นหาข้อมูล

แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การจัดเรียงข้อมูลและค้นหาข้อมูล [2]

หน่วยที่ 4 micro:bit สําหรับวิทยาการคํานวณ [20]

กิจกรรมที่ 4.1 แนะนำ Micro:bit [1]

1. จงบอกชื่ออุปกรณ์ต่างๆ รอบตัวที่นักเรียนคิดว่า มีไมโครคอนโทรลเลอร์อยู่

2. ส่องไมโครบิต

  • ส่วนประกอบสำคัญต่างๆ ในไมโครบิต ที่นักเรียนสังเกตได้ มีอะไรบ้างและคาดว่าสิ่งเหล่านั้นมีหน้าที่อะไร

3. จินตนาการ

  • ถ้าไมโครบิตสามารถปฏิบัติงานตามคำสั่งของเราได้ทุกอย่าง เราจะใช้ให้ไมโครบิตทำอะไรบ้าง

4. เลือกสิ่งที่เราชอบและคิดว่าเป็นไปได้จริงที่สุด วาดภาพคร่าวๆ พร้อมอธิบายหลักการทำงานเบื้องต้น

5. ถ้าหากจะทำผลงานให้สำเร็จ เราจะต้องมีความรู้ในด้านใดบ้าง

(คาบที่ 25)

กิจกรรมที่ 4.2 Make code for micro:bit

Workshop 1 Basic

workshop 1.1 Flashing Heart [0.5]

(แสดงรูปหัวใจกระพริบ)

(คาบที่ 26)

workshop 1.2 Name Tag [0.5]

(แสดงชื่อของนักเรียน)

workshop 1.3 Smiley Buttons [0.5]

(สวิตซ์กดแล้วยิ้ม)

workshop 1.4 Boom [0.5]

เมื่อกดปุ่ม A ให้แสดงตัวเลขนับถอยหลัง 10 - 0

ให้แสดงหน้าจอเป็นสีแดงทั้งจอ


workshop 1.5 Counter [0.5]

เริ่มต้นแสดงเลข 0 เมื่อกดปุ่ม A ให้บวกเพิ่ม 1

เมื่อกดปุ่ม B ให้ลดค่าลง 1

Workshop 2 Random

workshop 2.1 Random (สุ่มเลข 0-9) [0.5]

(คาบที่ 27)

workshop 2.2 Coin Flipper [0.5]

(หัว ก้อย)

workshop 2.3 Rock Paper Scissors [0.5]

(เป่ายิงฉุบ)

workshop 2.4 Dice (ทอยลูกเต๋า) [0.5]

Workshop 3 Sensor

workshop 3.1 วัดอุณหภูมิในห้อง [0.5]

ห้แสดงอุณหภูมิในห้องคอมพิวเตอร์

(คาบที่ 28)

workshop 3.2 วัดแสงในห้อง [0.5]

ให้แสดงค่าความสว่างดังนี้

  • ถ้าแสงมากให้หลอดไฟติดทุกดวง

  • ถ้าแสงน้อยให้ติดบางดวง

workshop 3.3 เข็มทิศ [0.5]

ให้แสดงทิศทั้ง 8 เช่น ทิศเหนือ แสดงว่า N

ทิศตะวันออก แสดงว่า E

(ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้จากหนังสือ Microbit สำหรับวิทยาการคำนวณ)

Workshop 4 Radio

workshop 4.1 Micro Chat

(คาบที่ 29)

workshop 4.2 Radio Game (ให้นักเรียนออกแบบเกม โดยใช้ Radio blocks ร่วมในการเล่นเกม)

กิจกรรมที่ 4.3 คำสั่งเงื่อนไข และวนซ้ำ [1]

ให้นักเรียนเขียนผังงานจาก Block ของโปรแกรมที่กำหนดให้ พร้อมทั้งบอกผลลัพธ์ของโปรแกรม

(คาบที่ 30)





กิจกรรมที่ 4.4 สนุกกับเสียงดนตรี [2]

(คาบที่ 31-32)

1. ให้นักเรียนศึกษาขั้นตอนการใช้ microbit ในการสร้างเสียงดนตรีจาก หนังสือ Microbit สำหรับวิทยาการคำนวณ หรือจาก https://makecode.microbit.org/reference/music

2. ให้นักเรียนสร้าง Project เสียงดนตรี 1 เพลง (เพลงสั้นๆ หรือเฉพาะบางท่อนบางตอน)

ชื่อเพลง ______________________________________________________________________________

สร้างเสียงดนตรีโดยใช้คำสั่งในชุด Music และเสียงดนตรีจะส่งสัญญาณออกทาง pin 0 (Generation of music tones through pin P0.)

**ส่งงานแบบเดียวกับกิจกรรที่ 4.2 Make code for micro:bit **

กิจกรรมที่ 4.5 พัฒนาผลงานโดยใช้ micro:bit [10]

ให้นักเรียนจัดกลุ่ม กลุ่มละ 3-5 คน เพื่อพัฒนาชิ้นงาน โดยประยุกต์ใช้ micro:bit ในการแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน

  1. ชื่อผลงาน

  2. จุดประสงค์ เป้าหมายของผลงาน

  3. ข้อมูลนำเข้า

  4. ข้อมูลออก

  5. เงื่อนไขของโปรแกรม

  6. วิธีทดสอบโปรแกรม

  7. ส่วนประกอบสำคัญและเซนเซอร์ที่ต้องใช้และคาดว่าสิ่งเหล่านั้นมีหน้าที่อะไร

  8. ภาพผลงานการออกแบบ

  9. โค้ดโปรแกรม

  10. ความรู้และประโยชน์ที่ได้รับจากการพัฒนางาน

  11. ปัญหาและข้อเสนอแนะ

  12. slide การนำเสนอ / ภาพการนำเสนอผลงานของนักเรียน

(คาบที่ 33-34)


การติดตั้ง Extension

[402] micro:bit

สำหรับการใช้งานกับบอร์ด micro:bit และ MakeCode

1. แนะนำให้ใช้งานร่วมกับบอร์ด AX-microBIT โดยติดตั้ง micro:bit ลงบนบอร์ด AX-microBIT ก่อน

2. ทำการ Add package ของ iKB-1 จาก https://github.com/jcubuntu/pxt-iKB1


สอบวัดผลการเรียนรู้ปลายภาค [20]

กรอบเนื้อหาที่ออกสอบวัดผลในหน่วยที่ 3 และ 4 (20 คะแนน)