เรื่องที่ 2 โครงสร้างและสาระสำคัญของรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย
โครงสร้างและสาระสำคัญของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
โครงสร้างและสาระสำคัญของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
โครงสร้างและสาระสำคัญของรัฐธรรมนูญทั้ง 18 ฉบับ มีวิวัฒนาการมาเป็นลำดับจากการศึกษาพบว่ามีโครงสร้างและ สาระสำคัญที่บัญญัติไว้ ดังนี้
โครงสร้างและสาระสำคัญของรัฐธรรมนูญทั้ง 18 ฉบับ มีวิวัฒนาการมาเป็นลำดับจากการศึกษาพบว่ามีโครงสร้างและ สาระสำคัญที่บัญญัติไว้ ดังนี้
1) ประมุขแห่งรัฐ ส่วนนี้จะระบุถึงองค์พระมหากษัตริย์และพระราชอำนาจของพระองค์ การแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการ และการสืบราชสันตติวงศ์
1) ประมุขแห่งรัฐ ส่วนนี้จะระบุถึงองค์พระมหากษัตริย์และพระราชอำนาจของพระองค์ การแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการ และการสืบราชสันตติวงศ์
2) ระบอบการปกครอง ส่วนนี้จะระบุรูปแบบของรัฐและลักษณะการปกครองไว้กล่าวคือ ประเทศไทยเป็นรัฐเดี่ยว และมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
2) ระบอบการปกครอง ส่วนนี้จะระบุรูปแบบของรัฐและลักษณะการปกครองไว้กล่าวคือ ประเทศไทยเป็นรัฐเดี่ยว และมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
3) สิทธิ เสรีภาพ ความเสมอภาค และหน้าที่ ส่วนนี้รัฐธรรมนูญระบุไว้โดยในส่วนของสิทธิ เช่น ลัทธิ เช่น สิทธิในการศึกษา สิทธิในการรักษาพยาบาล เป็นต้นในส่วนของความเสมอภาค เช่น การไม่เลือกปฏิบัติอันเนื่องมาจากเชื้อชาติสีผิว รายได้ และสภาพร่างกาย เป็นต้น ในส่วนของหน้าที่ เช่นประชาชนมีหน้าที่ต้องไปเลือกตั้ง มีหน้าที่ต้องเสียภาษีและมีหน้าที่ต้องรักษาชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ เป็นต้น
3) สิทธิ เสรีภาพ ความเสมอภาค และหน้าที่ ส่วนนี้รัฐธรรมนูญระบุไว้โดยในส่วนของสิทธิ เช่น ลัทธิ เช่น สิทธิในการศึกษา สิทธิในการรักษาพยาบาล เป็นต้นในส่วนของความเสมอภาค เช่น การไม่เลือกปฏิบัติอันเนื่องมาจากเชื้อชาติสีผิว รายได้ และสภาพร่างกาย เป็นต้น ในส่วนของหน้าที่ เช่นประชาชนมีหน้าที่ต้องไปเลือกตั้ง มีหน้าที่ต้องเสียภาษีและมีหน้าที่ต้องรักษาชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ เป็นต้น
4) แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ ส่วนนี้จะระบุแนวนโยบายที่จะทำให้ประเทศมีความมั่นคง มีความเจริญเติบโต มีสันติสุข และประชาชนมีมาตรฐานการครองชีพและมีคุณภาพชีวิตที่ดี เช่น การรักษาธรรมชาติ การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน การกระจายรายได้ที่เป็นธรรม เป็นต้น
4) แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ ส่วนนี้จะระบุแนวนโยบายที่จะทำให้ประเทศมีความมั่นคง มีความเจริญเติบโต มีสันติสุข และประชาชนมีมาตรฐานการครองชีพและมีคุณภาพชีวิตที่ดี เช่น การรักษาธรรมชาติ การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน การกระจายรายได้ที่เป็นธรรม เป็นต้น
5) อำนาจอธิปไตย ส่วนนี้จะกำหนดสถาบันที่ใช้อำนาจอธิปไตย ได้แก่ ฝ่ายบริหารฝ่ายนิติบัญญัติ และฝ่ายตุลาการ รวมถึงความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันทั้งสามสถาบัน
5) อำนาจอธิปไตย ส่วนนี้จะกำหนดสถาบันที่ใช้อำนาจอธิปไตย ได้แก่ ฝ่ายบริหารฝ่ายนิติบัญญัติ และฝ่ายตุลาการ รวมถึงความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันทั้งสามสถาบัน
6) การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ ส่วนนี้จะระบุกลไกที่ใช้สำหรับตรวจสอบการทำงานของรัฐเพื่อให้เกิดความโปร่งใสและความบริสุทธิ์ยุติธรรม เ ช่น ศาลรัฐธรรมนูญ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ คณะกรรมการการเลือกตั้ง เป็นต้น
6) การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ ส่วนนี้จะระบุกลไกที่ใช้สำหรับตรวจสอบการทำงานของรัฐเพื่อให้เกิดความโปร่งใสและความบริสุทธิ์ยุติธรรม เ ช่น ศาลรัฐธรรมนูญ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ คณะกรรมการการเลือกตั้ง เป็นต้น
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ซึ่งเป็นฉบับที่มีผลบังคับใช้ในปัจจุบันแบ่งโครงสร้างออกเป็น 15 หมวด ดังนี้
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ซึ่งเป็นฉบับที่มีผลบังคับใช้ในปัจจุบันแบ่งโครงสร้างออกเป็น 15 หมวด ดังนี้
หมวด 1 บททั่วไป
หมวด 1 บททั่วไป
หมวด 2 พระมหากษัตริย์
หมวด 2 พระมหากษัตริย์
หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย
หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย
หมวด 4 หน้าที่ของชนชาวไทย
หมวด 4 หน้าที่ของชนชาวไทย
หมวด 5 แนวนโยบาลพื้นฐานแห่งรัฐ
หมวด 5 แนวนโยบาลพื้นฐานแห่งรัฐ
หมวด 6 รัฐสภา
หมวด 6 รัฐสภา
หมวด 7 การมีส่วนร่วมทางการเมืองโดยตรงของประชาชน
หมวด 7 การมีส่วนร่วมทางการเมืองโดยตรงของประชาชน
หมวด 8 การเงิน การคลัง และงบประมาณ
หมวด 8 การเงิน การคลัง และงบประมาณ
หมวด 9 คณะรัฐมนตรี
หมวด 9 คณะรัฐมนตรี
หมวด 10 ศาล
หมวด 10 ศาล
หมวด 11 องค์กรตามรัฐธรรมนูญ
หมวด 11 องค์กรตามรัฐธรรมนูญ
หมวด 12 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ
หมวด 12 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ
หมวด 13 จริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ
หมวด 13 จริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ
หมวด 14 การปกครองส่วนท้องถิ่น
หมวด 14 การปกครองส่วนท้องถิ่น
หมวด 15 การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญบทเฉพาะกาล
หมวด 15 การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญบทเฉพาะกาล