เรื่องที่ 4 หลักธรรมในแต่ละศาสนาที่ทำให้ อยู่ร่วมกับศาสนาอื่นได้อย่างมีความ

ศาสนาพุทธ ได้แก่ พรหมวิหาร 4 และ ฆราวาสธรรม

วิหาร แปลว่า ที่อยู่ พรหม แปลว่า ประเสริฐ คำว่าพรหมวิหาร หมายความว่าเอาใจจับอยู่ในอารมณ์แห่งความประเสริฐ หรือเอาใจไปขังไว้ในความดีที่สุด ซึ่งมี คุณธรรม 4ประการ คือ

เมตตา แปลว่า ความรัก หมายถึง รักที่มุ่งเพื่อปรารถนาดี โดยไม่หวังผลตอบแทนใดๆจึงจะตรงกับคำว่าเมตตาในที่นี้ ถ้าหวังผลตอบแทนจะเป็นเมตตาที่เจือด้วยกิเลสไม่ตรงต่อเมตตา ในพรหมวิหารนี้ลักษณะของเมตตา ควรสร้างความรู้สึกคุมอารมณ์ไว้ตลอดวัน ว่า เราจะเมตตาสงเคราะห์เพื่อนที่เกิด แก่ เจ็บ ตาย จะไม่สร้างความลำบากให้แก่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ความทุกข์ที่เขามี เราก็มีเสมอเขา ความสุขที่เขามี เราก็สบายใจไปกับเขา รักผู้อื่นเสมอด้วยรักตนเอง

กรุณา แปลว่า ความสงสาร หมายถึงความปรานี ปรารถนาให้ผู้อื่นพ้นทุกข์ ความสงสารปรานีนี้ก็ไม่หวังผลตอบแทนเช่นเดียวกัน สงเคราะห์สรรพสัตว์ที่มีความทุกข์ให้หมดทุกข์ตามกำลังกาย กำลังปัญญา กำลังทรัพย์ลักษณะของกรุณา การสงเคราะห์ทั้งทางด้านวัตถุ โดยธรรม ว่า ผู้ที่จะสงเคราะห์นั้นขัดข้องทางใด หรือถ้าหาให้ไม่ได้ ก็ชี้ช่องบอกทาง

มุทิตา แปลว่า มีจิตอ่อนโยน หมายถึง จิตที่ไม่มีความอิจฉาริษยาเจือปน มีอารมณ์สดชื่นแจ่มใสตลอดเวลา คิดอยู่เสมอว่า ถ้าคนทั้งโลกมีความโชคดีด้วยทรัพย์ มีปัญญาเฉลียวฉลาดเหมือนกันทุกคนแล้ว โลกนี้จะเต็มไปด้วยความสุข สงบ ปราศจากอันตรายทั้งปวง คิดยินดีโดยอารมณ์พลอยยินดีนี้ไม่เนื่องเพื่อผลตอบแทน การแสดงออกถึงความยินดีในพรหมวิหาร คือไม่หวังผลตอบแทนใดๆ ทั้งสิ้น

อุเบกขา แปลว่า ความวางเฉย นั่นคือ มีการวางเฉยต่ออารมณ์ที่มากระทบ ความวางเฉยในพรหมวิหารนี้ หมายถึง เฉยโดยธรรม คือทรงความยุติธรรม ไม่ลำเอียงต่อผู้ใดผู้หนึ่ง


ฆราวาสธรรม

ความรยึดหลักปรมัตถ์มีความหมายหมายถึง

หลักปรมาตมัน

คำว่าปรมาณูหมายถึงสิ่งที่ยิ่งใหญ่มากมายที่รวมอยู่ในทุก ๆ ประเทศในโลกใบเรียกเก็บเงินที่มีอยู่มากมาย

1) เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเอง

2) สิ่งมีชีวิตที่อยู่ในสิ่งที่เหมือนผีทั้งสองเรียกว่าอาตานเป็นสิ่งที่มองไม่เห็นด้วยตา

3) เป็นศูนย์รวมแห่งวิญญาณทั้งปวง

4) สิ่งที่สำนึกทั้งปวงในโลกสากลเป็นส่วนย่อยที่แยกออกมาจากพรหม

5) เป็นตัวจริง (สัจธรรม) สิ่งเดียว (โลกและสิ่งอื่น ๆ เป็นยามา

6) เป็นผู้มอบวิญญาณความคิดและความสันติ

7) สิ่งที่ดำรงอยู่ในสภาพเดิมตลอดกาลวิญญาณของมนุษย์ดานกัมมันตรังสี (อาตภัย) เป็นส่วนที่แยกออกมาจากวิญญาณรวมของพรหม สิ่งมีชีวิตหลากหลายรูปแบบเช่นกันในร่างกายมนุษย์เทวดาสัตว์และพืชที่มีสภาพดีมาก แต่กลับกลายเป็นสิ่งที่เลวร้ายที่สุด สิ้นกรรมกพระเจ้าด้วยสุดจิตสุดใจของท่าน

1. ศรัทธาว่าพระเจ้าคือพระเยโฮวาห์เป็นพระเจ้าสูงสุดเพียงองค์เดียว

2. ศรัทธาว่าพระเจ้าทรงรักมนุษย์อย่างแน่นอน

3. ศรัทธาว่าพระเยซูเป็นบุตรของพระเจ้า

4. ศรัทธาว่าพระเยซูเป็นพระผู้ช่วยให้รอด

5. ศรัทธาว่าในแผ่นดินสวรรค์หรืออาณาจักรของพระเจ้าที่กำลังจะมาถึง

หลักความรักและดินแดนของพระเจ้าที่มีความสัมพันธ์ร่วมกันคือมนุษย์จะสามารถดินแดนของพระเจ้าได้โดยอาศัยความรักที่เป็นประโยชน์ความรักที่มีต่อผู้คนมากมายในโลกแห่งความรักเพราะความแค้นที่เกิดจากความรักและความเจ็บปวดในชีวิตของพวกเขา เห็นแก่ตัว แต่หมายถึงความเป็นมิตรและความปรารถนาที่จะมอบให้แก่ผู้มีความสุข ีคำสอนที่เน้นเรื่องความรักมีอยู่ 2 ประเภทความรักระหว่างมนุษย์กับพระเจ้าและความรักระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ในพระคริสตธรรมที่เก่าแก่ที่สุด เป็นผู้ให้ความรักแก่ชนชาติทั้งหลายก่อนหน้านี้ชาวยิวขอตอบสนองต่อความรักของพระเจ้า งมนุษย์กับมนุษย์ไว้วางใจว่า“ จงอย่าเกลียดชังพี่น้องของเจ้าที่อยู่ในใจ แต่เจ้าจงตักเตือน เจ้าอย่าแค้นหรือเจ้าพ่อลูกหลานญาติพี่น้องเจ้าตัวน้อยรักตัวเอง” ในพระคัมภีร์ใหม่คำสอนเรื่องหลัก ๆ ของความรักระหว่างมนุษย์กับพระเจ้าที่ได้รับจากความรักอันสุดล้ำ พระเจ้าทรงมีต่อมนุษย์เห็นได้จากการที่พระเยซูทรงยอมสิ้นพระชนม์บนไม้กางเขนเพื่อให้ผู้ศรัทธาในใจจะได้รับการปลดจากความผิดบาปรู้ตัว เทพเจ้าที่ทรงสละพระชนม์ชีพเพื่อไถ่บาปของมวลชนเหล่านั้นอยู่ในคำภาวนาของทหารโรมันที่จะเข้ามามีส่วนร่วมและบันทึกเรื่องราวของความรักระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ว่า“ มี เขาได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากผู้คนทั่วโลกว่า“ ธรรมบัญญัติข้อใดที่เป็นเอกภาพยิ่งใหญ่” ติทั้งปวง” พระเยซูจึงตรัสตอบคนนั้นว่า“ธรรมบัญญัติเอกนั้นคือว่าโอชนอิสราเอลจงฟังเถิดพระเจ้าของเราทั้งหลายทรงเป็นพระเจ้าองค์เดียวและพวกท่านจงรักพระเจ้าด้วยสุดจิตสุดใจของท่านรือประสบปัญหาทางธุรกิจ เป็นต้น ก็เสียสละความสุขความพอใจของตน ขวนขวายช่วยเหลือ เอาใจใส่ดูแล เป็นที่พึ่งอาศัย เป็นกำลังส่งเสริม หรือช่วยให้กำลังใจได้โดยประการใดประการหนึ่ง ตามความเหมาะสม รวมความว่า เป็นผู้จิตใจกว้างขวาง เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เสียสละ ไม่คับแคบเห็นแก่ตัว ชีวิตครอบครัวที่ขาดจาคะ ก็คล้ายกับการลงทุนที่ปราศจากผลกำไรมาเพิ่มเติม ส่วนที่มีมาแต่เดิมก็คงที่หรือหมดไป เหมือนต้นไม้ที่มิได้รับการบำรุง ก็มีแต่อับเฉา ร่วงโรย ไม่มีความสดชื่นงอกงาม

ศาสนาอิสลาม

มีหลักธรรมที่ทำให้อยู่ร่วมกับศาสนาอื่นได้อย่างมีความสุข เพราะยึดหลักจริยธรรมเป็นธรรมนูญสำหรับมนุษย์ที่ครอบคลุมทุกด้าน ทั้งส่วนตัว ครอบครัว สังคม สอนให้มนุษย์อยู่กันด้วยความเป็นมิตร ละเว้นการรบราฆ่าฟัน การทะเลาะเบาะแว้ง รุกรานสิทธิผู้อื่น ไม่ลักขโมย ฉ้อฉล หลอกลวง ไม่ผิดประเวณี ทำอนาจาร ไม่ดื่มของมึนเมา ไม่บ่อนทำลายสังคมไม่ว่ารูปแบบใด และศาสนาอิสลามถือว่าพี่น้องมุสลิมทั่วโลกเป็นครอบครัวกัน เป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน สามัคคีกันและรักกันศาสนาอิสลามมีวิธีฝึกตนให้อดทนด้วยการถือศีลอด และรักผู้อื่นด้วยการบริจาคทานเรียกว่า ซะกาด

การถือศีลอด

การถือศีลอด คือ งดเว้นจากการกระทำต่างๆ ดังต่อไปนี้ตั้งแต่แสงอรุณขึ้นจนถึงตะวันตกในเดือนรอมะฎอน (เดือนที่ 9 ขอ ฮิจเราะห์ศักราช) เป็นเวลา 1 เดือน คือการถือศีลอดมีเป้าหมายเพื่อเป็นการฝึกฝนใหตัวเองมีจิตผูกพัน และยำเกรงต่อพระเจ้าเพื่อการดำเนินชีวิตในทุกด้านตามคำบัญชาของพระองค์ อันเป็นผลดีทำให้เกิดปกติสุข ทั้งส่วนตัวและส่วนสังคมนอกจากนั้น ประโยชน์ของการถือศีลอดยังเป็นผลดีในด้านสุขภาพอนามัยอีกด้วยเพราะการถือศีลอดเป็นการอดอาหารในช่วงเวลาที่ถูกกำหนดไว้อย่างตายตัวนั้น จะทำให้ร่างกายได้ละลายส่วนเกินของไขมันที่สะสมเอาไว้ อันเป็นบ่อเกิดของโรคร้ายหลายประการด้วยการถือศีลอดทำให้เกิดการประหยัดทั้งอาหารของโลกและสิ่งฟุ่มเฟือยต่างๆ ในหนึ่งเดือนที่ถือศีลอด ค่าอาหารที่ลดลงจะเป็นจำนวนมหาศาล เท่ากับเดือนถือศีลอดนั้นมุสลิมช่วยทำให้โลกประหยัดโดยตรง

ศาสนาคริสต์

ได้แก่ หลักความรักซึ่งก่อให้เกิดความรักสามัคคีของคนในโลก ทั้งนี้เพราะ หลักความรักเป็นคำสอนทางจริยธรรมที่สำคัญที่สุดของศาสนาคริสต์ ความรักในที่นี้มิใช่ความรักอย่างหนุ่มสาวอันประกอบด้วยกิเลสตัณหาและอารมณ์ปรารถนาอันเห็นแก่ตัว แต่หมายถึงความเป็นมิตรและความปรารถนาให้ผู้อื่นมีความสุข พระคริสตธรรมทั้งพระคริสตธรรมใหม่และพระคริสตธรรมเก่า ต่างก็มีคำสอนที่เน้นเรื่องความรัก ซึ่งมีอยู่ 2 ประเภท ได้แก่ความรักระหว่างมนุษย์กับพระเจ้า และความรักระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ในพระคริสตธรรมเก่า ความรักเป็นเรื่องของความผูกพันระหว่างพระเจ้ากับชนชาติอิสราเอล โดยที่พระเจ้าทรงเป็นผู้ให้ความรักแก่ชนชาติอิสราเอลก่อน จากนั้นชาวอิสราเอลจึงสนองตอบความรักของพระเจ้า พระคริสตธรรมเก่าได้บันทึกหลักความรักระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ไว้ว่า“จงอย่าเกลียดชังพี่น้องของเจ้าอยู่ในใจ แต่เจ้าจงตักเตือนเพื่อนบ้านของเจ้าเพื่อจะไม่ต้องรับโทษเพราะเขา เจ้าอย่าแค้นหรือผูกพยาบาทลูกหลานญาติพี่น้องของเจ้า แต่จงรักเพื่อนบ้านเหมือนรักตนเอง”ในพระคริสตธรรมใหม่ คำสอนเรื่องหลักคาวมรักระหว่างมนุษย์กับพระเจ้า ได้เปลี่ยนไปโดยให้พระเยซูเป็นสัญลักษณ์ของความรักสูงสุดที่พระเจ้าทรงมีต่อมนุษย์ เห็นได้จากการที่พระเยซูทรงยอมสิ้นพระชนม์บนไม้กางเขน เพื่อให้ผู้มีศรัทธาในพระองค์จะได้พ้นจากความผิดบาป เจตนารมณ์ของพระเยซูที่ทรงยอมสละพระชนม์ชีพเพื่อไถ่บาปของมวลชนนั้น ปรากฏอยู่ในคำอธิษฐานของพระองค์ก่อนที่ทหารโรมันจะเข้าจับกุม และพระคริสตธรรมใหม่ได้บันทึกความสำคัญของความรักระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ว่า“มีธรรมาจารย์คนหนึ่ง เมื่อมาถึงได้ยินเขาไล่เลียงกันและเห็นว่าพระองค์ทรงตอบเขาได้ดี จึงทูลถามพระองค์ว่า “ธรรมบัญญัติข้อใดเป็นเอก เป็นใหญ่กว่าธรรมบัญญัติทั้งปวง” พระเยซูจึงตรัสตอบคนนั้นว่า “ธรรมบัญญัติเอกนั้นคือว่า โอ ชนอิสราเอลจงฟังเถิด พระเจ้าของเราทั้งหลายทรงเป็นพระเจ้าองค์เดียว และพวกท่านจงรักพระเจ้าด้วยสุดจิตสุดใจของท่าน ด้วยสุดความคิดและด้วยสิ้นสุดกำลังของท่าน และธรรมบัญญัติที่สองนั้น คือ จงรักเพื่อนบ้านเหมือนรักตนเอง ธรรมบัญญัติอื่นที่ใหญ่กว่าธรรมบัญญัติทั้งสองนี้ ไม่มี”ความศรัทธาสรุปได้ 5 ประการ คือ

1. ศรัทธาว่า พระเจ้าคือ พระเยโฮวาห์ เป็นพระเจ้าสูงสุดเพียงองค์เดียว

2. ศรัทธาว่า พระเจ้าทรงรักมนุษย์อย่างเท่าเทียมกัน

3. ศรัทธาว่า พระเยซูเป็นบุตรของพระเจ้า

4. ศรัทธาว่า พระเยซูเป็นพระผู้ช่วยให้รอด

5. ศรัทธาว่า ในแผ่นดินสวรรค์หรืออาณาจักรของพระเจ้าที่กำลังจะมาถึง

หลักความรักและหลักอาณาจักของพระเจ้ามีความสัมพันธ์กัน กล่าวคือ มนุษย์จะสามารถเข้าถึงอาณาจักรของพระเจ้าได้ก็โดยอาศัยความรักเป็นคุณธรรมนำทาง และอาณาจักรของพระเจ้าก็เป็นอาณาจักรที่บริบูรณ์ด้วยรัก

ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู

ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ยึดหลักปรมาตมัน มีความหมายดังนี้

หลักปรมาตมัน

คำว่า ปรมาตมัน หมายถึง สิ่งยิ่งใหญ่อันเป็นที่รวมของทุกสิ่งทุกอย่างในสากลโลก ซึ่งเรียกชื่อสิ่งนี้ว่า พรหม ปรมารมันกับพรหมจึงเป็นสิ่งเดียวกัน และมีลักษณะดังต่อไปนี้

1) เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเอง

2) เป็นนามธรรม สิงสถิตอยู่ในสิ่งทั้งหลายทั้งปวง เรียกว่าอาตมัน เป็นสิ่งที่มองไม่เห็นด้วยตา

3) เป็นศูนย์รวมแห่งวิญญาณทั้งปวง

4) สิ่งทั้งหลายทั้งปวงในสากลโลกล้วนเป็นส่วนย่อยที่แยกออกมาจากพรหม

5) เป็นตัวความจริง (สัจธรรม) สิ่งเดียว (โลกและสิ่งอื่นๆล้วนเป็นมายา ภาพลวงที่มีอยู่ชั่วครั้งชั่วคราวเท่านั้น)

6) เป็นผู้ประทานวิญญาณ ความคิด และความสันติ

7) เป็นสิ่งที่ดำรงอยู่ในสภาพเดิมตลอดกาลวิญญาณของสัตว์ดลกทั้งหลาย (อาตมัน) คือส่วนที่แยกออกมาจากวิญญาณรวมของพรหม (ปรมาตมัน) วิญญาณย่อยแต่ละดวงเหล่านี้เมื่อแยกออกมาแล้วย่อมเข้าสิงสถิตในสิ่งมีชีวิตรูปแบบต่างๆกัน เช่น ในร่างกายมนุษย์ เทวดา สัตว์และพืช มีสภาพดีบ้าง เลวบ้าง สุดแต่ผลกรรมที่ทำไว้ ซึ่งถือว่าเป็นทุกข์ทั้งสิ้น ตราบใดที่วิญญาณเหล่านี้ยังไม่สิ้นกรรม ย่อมต้องเวียนว่ายตายเกิดผจญทุกข์อยู่ตลอดไป