ตีนเป็ดน้ำ

ชื่อสามัญ: The Pong pong.

ชื่อวิทยาศาสตร์: Cerbera odollam Gaertn.

ชื่อวงศ์: APOCYNACEAE.

ต้นตีนเป็ดน้ำพบมากทางภาคใต้ของไทย เป็นไม้ยืนต้นไม่ผลัดใบขนาดเล็ก ทรงร่ม เรือนยอดเป็นทรงกลมทึบ สูงประมาณ 5-15 เมตร ลำต้นแตกกิ่งต่ำ เปลือกลำต้นเรียบเป็นสีน้ำตาลอ่อนหรือสีเทา มีช่องระบายอากาศเป็นร่องยาว มีน้ำยางสีขาวข้น ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเพาะเมล็ด ปลูกได้ดีในดินทั่วไป ชอบแสงแดดเต็มวัน เจริญเติบโตได้เร็ว ไม่ต้องการการดูแลมาก มักพบขึ้นตามบริเวณริมน้ำ ตามป่าชายเลน ป่าบึงน้ำจืดและป่าชายหาด

ลักษณะทางพฤกศาสตร์:

รากมีสรรพคุณช่วยแก้ลมให้กระจาย แก้ลมอัณฑพฤกษ์ (ลมที่ทำให้เคลื่อนไหวไม่ได้) ขับเสมหะ แก้อาเจียน แก่นช่วยกระจายเลือด แก้โลหิตพิการ ดอกและใบช่วยแก้ไข้หวัด แก้ไข้ตัวร้อน เปลือกและทั้งต้นเป็นยาแก้ไข้ ไข้หวัด แก้ไข้เพื่อดีพิการ น้ำมันจากเมล็ดใช้ทามีสรรพคุณแก้หวัด แก้คัน แก้โรคหิด

ผลมีฤทธิ์: พิษร้าย คล้ายยาเบื่อ พิษร้ายเจือ เมื่อกิน ดิ้นจนหาม

สรรพคุณ: หนุนนำ ทำยาตาม เม็ดล้นหลาม น้ำมัน สรรค์สร้างรายได้