กัญชงและกัญชา

ประวัติความเป็นมา

กัญชง หรือ เฮมพ (Cannabis sativa L.subsp. sativa) และกัญชา (Cannabissativa L.subsp. indica) มีชื่อทางพฤกษศาสตรเดียวกันคือ Cannabis sativaL.เพราะมีตนกําเนิดมาจากพืชเดิมชนิดเดียวกันลักษณะ ภายนอกหรือสัณฐานวิทยาของพืชทั้งสองชนิดนั้นจึงไมแตกตางกันหรือมีความแตกตางกันนอยมากจนยากในการจําแนกแตกจากการที่พืชทั้งสองชนิดนี้มีการใชประโยชนอยางกวางขวางมาเปนระยะเวลายาวนานจึงทําใหมีการคัดเลือกพันธุเพื่อใหไดสายพันธุที่มีคุณสมบัติดีและเหมาะสมที่สุด ตรงตามวัตถุประสงค์ของการใชประโยชน์ จึงมีความ แตกต่างกันชัดเจนมากขึ้นระหว่างต้นกัญชาที่เป็นยาเสพติดและกัญชงที่ใช้เป็นพืชเส้นใยในปจจุบัน

กัญชง-กัญชา เป็นพืชเดิมที่ขึ้นอยู่ในเขตอบอุนของทวีปเอเชีย สันนิษฐานว่า มีการกระจายพันธุ์เป็นบริเวณกว้างอยู่ทางตอนกลางของ ทวีป ได้แก่พื้นที่ทางตอนใต้ของแคว้นไซบีเรีย ประเทศเปอร์เซียทางตอนเหนือของประเทศอินเดียบริเวณแคว้นแคชเมียร์และเชิงเขาหิมาลัยและประเทศจีน เป็นพืชที่ไดรับการบันทึกไว้ในเอกสารเก่าหลายเล่มว่ามีการปลูกใชประโยชนเปนพืชเสนใยและปลูกเปนพืชเสพติดมาแต่

ดึกดําบรรพ์

ประวัติคําวากัญชา-กัญชง คําวากัญชาเปนคําเรียกเดิมที่มาจากภาษาอินเดีย ซึ่งชาวพื้นบานของอินเดียไดนําพืช ชนิดนี้ไปใชประโยชน์ อย่างแพร่หลายที่สุดทั้งการเสพติด และเป็นเสนใยมาตั้งแต่ดึกดําบรร์พแล้วจากนั้นจึงมีผูนํามา กระจายพันธุ์ยังภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จนถึงอินโดนีเซีย หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟกและประเทศในย่านเขตรอนและเขตอบอุ่นของโลก ทั่วไปอย่างแพร่หลายในปี 960-1279 ก่อนคริสต์ศักราชได้มีบันทึกว่าในประเทศจีนมีการ ปลูกกัญชงเพื่อเปนพืชใชทําเสนใย และในสมัยโรมันได้มีการนําพืชชนิดนี้จากทวีปเอเชีย เข้าไปปลูกในประเทศอิตาลี แล้วจากนั้นจึงแพร้หลายทั่วไปในทวีปยุโรปและทั่วโลก

การศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร์

กัญชงและกัญชา เดิมมีชื่อวิทยาศาสตรเดียวกันคือ Cannabis sativa L. แตเดิมนักพฤกษศาสตรได้จัดให้ อยู่ในวงศตําแย (Urticaceae) แตตอมาภายหลังพบวามีคุณสมบัติและลักษณะเฉพาะหลายประการที่ต่างออกไปจากพืชในกลุ่มตําแยมากจึงไดรับการจําแนกออกเป็นวงศ์เฉพาะคือ (Cannabidaceae)ในปีค.ศ. 1998 หรือ พ.ศ. 2541 นี้เอง นักพฤกษศาสตร์ชาวอเมริกัน ได้จําแนก กัญชาและกัญชง ออกจากกันโดยลักษณะทางสัณฐานวิทยา (Morphology) และพฤกษเคมี (Phytochemistry) โดยใหชื่อวิทยาศาสตร์ของกัญชง Cannabis sativa L. subsp. sativa และกัญชา Canabis sativa L.subsp. indica (Lam.) E.Small & Cronquist ด้วยลักษณะที่คล้ายคลึงกันทางพฤกษศาสตร์และการใช้ประโยชน์ ที่มีกรรมวิธีหลากหลายทําให้กัญชาและกัญชงมีการเรียกชื่อตางๆกันออกไป มากมายจนสับสน อาทิกัญชา Kanchaa, กัญชง Kanchong, กัญชาจีน Kanchaa cheen (ทั่วไป); คุนเชา Khun chao (จีน); ปาง Paang, ยาพี้ Yaa pee (ชาน และแม ฮองสอน) ยานอ Yaa no (กระเหรี่ยง แมฮองสอน); Ganja, Kancha (India and general); Marihuana, bhang (general); Hemp, Indian Hemp, Industrial Hemp(general) etc. ในปัจจุบันโดยทั่วไปก็ยังมีความสับสนอยูัโดยชาวบัานนิยมเรียกพืชนี้ตามลักษณะของการใช้ประโยชน์โดยคําว่ากัญชาชาวพื้นบ้านใช้เรียกกันทั่วไปกับตนพืชที่ใชเป็นยาเสพติด ส่วนคํา ว่ากัญชงหรือเฮมพ์ เป็นคําเรียกที่ใช้กับตนพืชที่ใช้ประโยชน์ในการผลิตเส้นใยสําหรับถักทอ

ประโยชนในด้านต่างๆ

1. ประโยชน์จากเส้นใยของกัญชง

เสนใยกัญชงเป็นเส้นใยที่มีคุณภาพสูง มีความยืดหยุ่น แข็งแรง และ ทนทานสูง สามารถใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตผลิตภัณฑจากเส้นใยได้กว่า 5,000 ชนิด อย่างไรก็ตาม ตลาดหลักของเส้นใยกัญชงในปจจุบันนี้มีอยู 2 ตลาดใหญ่ คือใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตเสนใยใช้ในการทําเสื้อผาและทําเยื่อกระดาษ ถึงแมวาเส้นใยกัญชงจะให้ผ้ามีรอยย่นหรือเกิดรอยยับได้ง้าย แต่ลักษณะของเส้นใยที่สามารถลอกออกเป็นชั้นๆ คลายหัวหอมแต่เป็นใยยาว จึงสามารถนํามา พัฒนาผลิตเป็นผาที่บางได้เท่าที่ต้องการ และยังสามารถซักดวยเครื่องซักผ้าได้ โครงสรางของเส้นใยทําให้ผาที่ได้สวมใสเย็นสบายในฤดูรอน อบอุ่น

2. ประโยชน์จากโปรตีนในเมล็ดกัญชงเมล็ดกัญชงจะประกอบไปด้วยโปรตีนซึ่งมีคุณค่าทางโภชนาการสูงกว่าโปรตีน จากถั่วเหลือง มีปริมาณเส้นใยสูงและยังมีราคาที่ถูกกว่า โปรตีนในเมล็ดของกัญชง สามารถนํามาใช้ทดแทนผลิตภัณฑ์ที่ทํามาจากถั่วเหลือง เช่น เต้าหู โปรตีนเกษตร เนย ชีส น้ำมันสลัด ไอศครีม และนม ฯลฯ นอกจากนี้เรายังสามารถนําเมล็ดของ กัญชงมาผลิตแป้งเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบ สําหรับการประกอบอาหาร

เช่น พลาสต้า คุกกี้ ขนมปัง ฯลฯ

3. ประโยชน์จากน้ำมันในเมล็ดกัญชง นอกจากสวนของโปรตีนในเมล็ดของกัญชง ที่สามารถนํามาใช้ ประโยชน์ได้แล้ว น้ำมันในเมล็ดกัญชงยังให้กรดไขมัน Omega-3 ซึ่งเป็น กรดไขมันที่มีอยู่ในน้ำมันจากปลา และกัญชง เท่านั้น ผลจากการตรวจ เอกสารพบว่าผู้ที่บริโภคปลาและอาหารที่มีกรดไขมัน Omega-3 จะมี โอกาส เป็นโรคหัวใจต่ำกวาบุคคลทั่วไป และจากการวิจัยของศาสตราจารย์ Andrew Weil จากคณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยอริโซนา สหรัฐอเมริกาพบว่า การบริโภค Omega-3 สามารถ ชวยลด อัตรา การเสี่ยงต่อการเป็นโรคมะเร็งอีกด้วย

4. ประโยชน์ทางด้านเยื่อกระดาษและสิ่งแวดล้อม ในการเปรียบเทียบปริมาณเสนใย จากการปลูกกัญชงและการปลูกฝ้าย ในระยะเวลา 1 ปีเท่ากัน พบว่าการปลูกกัญชง 10 ไร่ จะให้ผลิตผลเส้นใยเท่ากับ การปลูกฝ้าย 20-30 ไร่ ซึ่งเส้นใยจากกัญชงนี้จะมีคุณภาพดีกวาเสนใยจากฝาย โดยเส้นใยกัญชงจะยาวเปน 2 เท่า ของเส้นใยฝายมีความแข็งแรงและความนิ่ม ของเส้นใยมากกว่าฝ้าย จากข้อดีดังกล่าวของเส้นใยกัญชงจะเห็นได้ ว่าในปัจจุบันนี้ได้มีการ พัฒนาผลิตภัณฑ์จากเส้นใยกัญชง 100% เช่น เสื้อเชิ้ต กางเกง กระเป๋า ฯลฯ สําหรับในด้านเทคนิคการเพาะปลูก เมื่อเทียบกับฝ้ายจะเห็นได้ว่าฝ้าย ต้องการ อุณหภูมิที่เหมาะสมและน้ำในปริมาณที่มากกวาการเพาะปลูกกัญชง นอกจากนี้ ฝายยังต้องการสารกําจัดศัตรูพืชในปริมาณสูง ซึ่งนักเกษตรพบว่า ประมาณ 20 % ของสารกําจัดศัตรูพืชที่ใชอยูในโลกถูกใชในการเพาะปลูก ฝาย ซึ่งเปนอันตรายตอสุขภาพของมนุษยและสัตวโดยเฉพาะสิ่งแวดลอม ในขณะที่การปลูกกัญชงไม่จําเป็นต้องใช้สารกําจัด ศัตรูพืช จะใช้เพียง ปุ๋ยและ น้ำในปริมาณที่เหมาะสมเท่านั้น นอกจากนี้ยังพบว่าการปลูกกัญชงยังเป็นการ ช่วยปรับปรุงคุณภาพของดินที่ใช้เพาะปลูกอีกด้วย การปลูกเพื่อใช้ประโยชน์ใน การทํากระดาษ จะเป็นตัวอย่างด้านการรักษาสิ่งแวดล้อมชัดเจน พืชที่ใช้ทํากระดาษคุณภาพดี อาทิ สน ยูคาลิปตัส และปอกระสา ล้วนเป็น พืชยืนตน การเจริญเติบโตช้ามากเมื่อเทียบกับ กัญชง กวาจะเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ต้องปลูก เป็นลักษณะสวนป่า ใช้เวลานานหลายปีปอกระสาประมาณไม่น้อยกว่า 3 ปียูคาลิปตัสและสน ประมาณ 6-8 ปี การ ปลูกก็ตองใช้พื้นที่มาก และเมื่อตัดไม่แล้ว จะฟื้นคืนคุณภาพพื้นที่ได้ยาก ปลูกซ้ำได้ไมกี่ครั้งเพราะจะมีเหงาและตอ

อยู่ทําให้ดูเป็นลักษณะทําลายสิ่งแวดล้อม สวนกัญชงจะสามารถปลูกซ้ำในพื้นที่เดิมได้ต่อเนื่องไม่ต้องการมีการดูแล รักษา หรือจัดการพื้นที่มาก ตลอดจนการเก็บผลผลิต และค่าใช้จ่ายในการแปรรูป และการขนสงต่างๆก็สะดวกมาก นอกจากนี้ยังสามารถดําเนินการได้โดยกลุ้มชาวบ้านทั่วๆไปในการทําเป็นเชิงธุรกิจค่าใช้จ่ายในการลงทุนและกําไรจึงจะต่างกันเป็นจํานวนมหาศาล

ที่มา https://www.oncb.go.th/ncsmi/hemp7/กัญชง-กัญชา.pdf