เอกสารรวมบทคัดย่อผลงานวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562

งานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาได้ตระหนักถึงความสำคัญของการวิจัยและภาระงานของครูผู้สอนที่มีมาก จึงได้กำหนดรูปแบบการเขียน และการส่งผลงานวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนตามวงจร PAOR เพื่อให้เกิดความสะดวกรวดเร็วและ เป็นประโยชน์ต่อนักเรียน ครูผู้สอน ตลอดจนระบบงานของโรงเรียนราชินีบูรณะในภายภาคหน้า ขึ้นใช้ ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดได้จากคู่มือการส่งผลงานและทิศทางการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน ปีการศึกษา 2561-2565 ที่จัดพิมพ์โดยงานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา และการดำเนินงานในภาคเรียนที่ 2 ที่ผ่านมานี้ งานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนราชิบูรณะ ได้รับรางวัลระดับ “เหรียญทอง” ในการประกวดหนึ่งโรงเรียนหนึ่งนวัตกรรมของคุรุสภา ระดับประเทศ ซึ่งเป็นการตอกย้ำความเข้มแข็งและความถูกต้องตามหลักวิชาการในเชิงประจักษ์ของระบบงานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยผลงาน RACHAWADI Model : รูปแบบขับเคลื่อนการทำวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน งานวิจัยเพือพัฒนาคุณภาพการศึกษา ขอขอบคุณครูผู้วิจัยทุกท่านที่ได้ร่วมกันแก้ไขและพัฒนาคุณภาพของนักเรียนโดยใช้กระบวนการวิจัยไปพร้อมกัน จนเกิดผลงานวิจัยทั้ง 122 ผลงาน และปรากฎผลงานที่มีคุณภาพในระดับดีมากจำนวน 9 ผลงาน ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 ที่ผ่านมานี้ และหวังว่าครูผู้วิจัยทุกท่านจะร่วมกันพัฒนาผลงานวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนตามวงจร PAOR ให้มีคุณภาพสูงขึ้นในภาคเรียนต่อไป โดยมุ่งเน้นประโยชน์ที่เกิดขึ้นกับนักเรียน โรงเรียนราชินีบูรณะ เป็นสำคัญ ภายใต้คำขวัญที่ว่า “ร่วมคิด ร่วมแก้ไข ร่วมวิจัย ร่วมพัฒนา”

เอกสารรวมบทคัดย่อผลงานวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562

งานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาได้ตระหนักถึงความสำคัญของการวิจัยและภาระงานของครูผู้สอนที่มีมาก จึงได้กำหนดรูปแบบการเขียน และการส่งผลงานวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนตามวงจร PAOR เพื่อให้เกิดความสะดวกรวดเร็วและ เป็นประโยชน์ต่อนักเรียน ครูผู้สอน ตลอดจนระบบงานของโรงเรียนราชินีบูรณะในภายภาคหน้า ขึ้นใช้ ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดได้จากคู่มือการส่งผลงานและทิศทางการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน ปีการศึกษา 2561-2565 ที่จัดพิมพ์โดยงานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา และการดำเนินงานในภาคเรียนที่ 2 ที่ผ่านมานี้ งานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนราชิบูรณะ ได้รับรางวัลระดับ “เหรียญทอง” ในการประกวดหนึ่งโรงเรียนหนึ่งนวัตกรรมของคุรุสภา ระดับประเทศ ซึ่งเป็นการตอกย้ำความเข้มแข็งและความถูกต้องตามหลักวิชาการในเชิงประจักษ์ของระบบงานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยผลงาน RACHAWADI Model : รูปแบบขับเคลื่อนการทำวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน งานวิจัยเพือพัฒนาคุณภาพการศึกษา ขอขอบคุณครูผู้วิจัยทุกท่านที่ได้ร่วมกันแก้ไขและพัฒนาคุณภาพของนักเรียนโดยใช้กระบวนการวิจัยไปพร้อมกัน จนเกิดผลงานวิจัยทั้ง 126 ผลงาน และปรากฎผลงานที่มีคุณภาพในระดับดีมากจำนวน 18 ผลงาน ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 ที่ผ่านมานี้ และหวังว่าครูผู้วิจัยทุกท่านจะร่วมกันพัฒนาผลงานวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนตามวงจร PAOR ให้มีคุณภาพสูงขึ้นในภาคเรียนต่อไป โดยมุ่งเน้นประโยชน์ที่เกิดขึ้นกับนักเรียน โรงเรียนราชินีบูรณะ เป็นสำคัญ ภายใต้คำขวัญที่ว่า “ร่วมคิด ร่วมแก้ไข ร่วมวิจัย ร่วมพัฒนา”

เอกสารรวมบทคัดย่อผลงานวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561

งานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาได้ตระหนักถึงความสำคัญของการวิจัยและภาระงานของครูผู้สอนที่มีมาก จึงได้กำหนดรูปแบบการเขียน และการส่งผลงานวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนตามวงจร PAOR เพื่อให้เกิดความสะดวกรวดเร็วและ เป็นประโยชน์ต่อนักเรียน ครูผู้สอน ตลอดจนระบบงานของโรงเรียนราชินีบูรณะในภายภาคหน้า ขึ้นใช้ ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดได้จากคู่มือการส่งผลงานและทิศทางการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน ปีการศึกษา 2561-2565 ที่จัดพิมพ์โดยงานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา และการดำเนินงานในภาคเรียนที่ 2 ที่ผ่านมานี้ งานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนราชิบูรณะ ได้รับรางวัลระดับ “เหรียญทอง” ในการประกวดหนึ่งโรงเรียนหนึ่งนวัตกรรมของคุรุสภา ระดับภูมิภาค ซึ่งเป็นการตอกย้ำความเข้มแข็งและความถูกต้องตามหลักวิชาการในเชิงประจักษ์ของระบบงานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยผลงาน RACHAWADI Model : รูปแบบขับเคลื่อนการทำวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน งานวิจัยเพือพัฒนาคุณภาพการศึกษา ขอขอบคุณครูผู้วิจัยทุกท่านที่ได้ร่วมกันแก้ไขและพัฒนาคุณภาพของนักเรียนโดยใช้กระบวนการวิจัยไปพร้อมกัน จนเกิดผลงานวิจัยทั้ง 78 ผลงาน ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 ที่ผ่านมานี้ และหวังว่าครูผู้วิจัยทุกท่านจะร่วมกันพัฒนาผลงานวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนตามวงจร PAOR ให้มีคุณภาพสูงขึ้นในภาคเรียนต่อไป โดยมุ่งเน้นประโยชน์ที่เกิดขึ้นกับนักเรียน โรงเรียนราชินีบูรณะ เป็นสำคัญ ภายใต้คำขวัญที่ว่า “ร่วมคิด ร่วมแก้ไข ร่วมวิจัย ร่วมพัฒนา”

เอกสารรวมบทคัดย่อผลงานวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561

ปีการศึกษา 2561 นับเป็นการเริ่มต้นที่ดีของการทำวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนของโรงเรียนราชินีบูรณะ เนื่องด้วยมีการรวมกลุ่มครูผู้สอนเพื่อสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) อย่างเต็มรูปแบบ ซึ่งเป็นเครื่องมือสำคัญยิ่งต่อการขับเคลื่อนการทำวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนตามวงจร PAOR ที่ประกอบด้วย การวางแผน (Plan: P) การปฏิบัติ (Act: A) การสังเกต (Observed : O) และการสะท้อน (Reflect: R) งานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ขอขอบคุณครูผู้วิจัยทุกท่านที่ได้ร่วมกันแก้ไขและพัฒนาคุณภาพของนักเรียนโดยใช้กระบวนการวิจัยไปพร้อมกัน จนเกิดผลงานวิจัยทั้ง 76 ผลงาน ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 ที่ผ่านมานี้ และหวังว่าครูผู้วิจัยทุกท่านจะร่วมกันพัฒนาผลงานวิจัยเชิงปฏิบัติการ ในชั้นเรียนตามวงจร PAOR ให้มีคุณภาพสูงขึ้นในภาคเรียนต่อไป โดยมุ่งเน้นประโยชน์ที่เกิดขึ้นกับนักเรียน โรงเรียนราชินีบูรณะ เป็นสำคัญ ภายใต้คำขวัญที่ว่า “ร่วมคิด ร่วมแก้ไข ร่วมวิจัย ร่วมพัฒนา”

เอกสารรวมบทคัดย่อผลงานวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน ปีการศึกษา 2560

การวิจัยเป็นศาสตร์สากลแขนงหนึ่งที่มีความสำคัญต่อความเจริญก้าวหน้าของสาขาวิชาต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านวิทยาศาสตร์ ศิลปศาสตร์ มนุษยศาสตร์ ก็ล้วนต้องพึ่งพาวิทยาการทางด้านการวิจัยเพื่อขับเคลื่อนและสร้างสรรค์องค์ความรู้เพื่อการพัฒนาทั้งสิ้น เช่นเดียวกับ “ศึกษาศาสตร์” ศาสตร์ที่ว่าด้วย “การศึกษา” ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการสร้างสรรค์ความเจริญงอกงามให้เกิดขึ้นกับทั้งร่างกาย วาจา และจิตใจของมนุษย์ งานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ขอขอบคุณครูผู้วิจัยทุกท่านที่ได้ร่วมกันแก้ไขและพัฒนาคุณภาพของนักเรียนโดยใช้กระบวนการวิจัยไปพร้อมกันจนเกิดผลงานวิจัยทั้ง 42 ผลงาน ในปีการศึกษา 2560 ที่ผ่านมานี้ และหวังว่าครูผู้วิจัยทุกท่านจะร่วมกันพัฒนางานวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนให้มีคุณภาพสูงขึ้นในปีการศึกษาต่อไป โดยมุ่งเน้นประโยชน์ที่เกิดขึ้นกับนักเรียนโรงเรียนราชินีบูรณะ เป็นสำคัญ ภายใต้คำขวัญที่ว่า “ร่วมคิด ร่วมแก้ไข ร่วมวิจัย ร่วมพัฒนา”

วัตถุประสงค์ของการจัดทำระบบฐานข้อมูลผลงานวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน

  1. เพื่อเป็นการเผยแพร่ผลงานวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน (เฉพาะบทคัดย่อ) และประวัติ/ร่องรอยการทำงานวิจัยที่ผ่านการตรวจสอบจากงานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
  2. เพื่อเป็นการพัฒนาระบบงานวิจัยให้มีประสิทธิภาพ
  3. เพื่อเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบผลการทำวิจัยสำหรับคณะผู้บริหารโรงเรียนในรูปแบบออนไลน์