ห้องฉุกเฉิน

โรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์

เป้าหมายสำคัญในกระบวนการดูแลผู้ป่วย Head injury (TBI)

1. ผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะเข้าถึงบริการห้องฉุกเฉินได้อย่างรวดเร็ว

2.ผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะได้รับการประเมินเบื้องต้นที่ถูกต้องเหมาะสมกับความเร่งด่วน

3.ผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะและบาดเจ็บร่วมอื่นๆได้รับการวินิจฉัยที่ถูกต้อง ครอบคลุม และทันเวลา

4.ผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะกรณี Fast track ได้รับการประสานงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างมีประสิทธิภาพและทันเวลา

5.ลดความแออัดของห้องฉุกเฉิน

ตัวชี้วัดที่สำคัญของห้องฉุกเฉิน

1.ระยะเวลาตั้งแต่ผู้ป่วยมาถึงห้องฉุกเฉิน จนถึงเวลาลงมีดผ่าตัด (นาที)

2.ระยะเวลาตั้งแต่ผู้ป่วยมาถึงห้องฉุกเฉิน จนถึง NSICU (นาที)

3.ระยะเวลาตั้งแต่ผู้ป่วยมาถึงห้องฉุกเฉิน จนถึงหอผู้ป่วย (นาที)

4.จำนวนผู้ป่วย Head injury ที่อยู่ในห้องฉุกเฉินนานเกิน 120 นาที 

5.จำนวนผู้ป่วย Head injury ที่มีข้อบ่งชี้ผ่าตัดด่วน สามารถเข้าห้องผ่าตัดได้ภายใน 60 นาที (นับจาก Door ER to door OR)

6.จำนวนเคส OR fast track ที่เกินเวลา 30 นาที

7.จำนวนเคสที่ missed Dx ใน multiple injury

8.จำนวนเคสที่ Delayed Dx ใน multiple injury

9.จำนวนเคส Head injury ที่ Re-visit ER ใน 48 ชั่วโมง

3.ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการห้องฉุกเฉิน

ตัวชี้วัด TBI-2566.pdf

ตัวชี้วัดคุณภาพของหน่วยงาน

(Key Performance Indicators for DSC : TBI)


เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะจังหวัดชุมพร - ระนอง

หน่วยศัลยกรรมประสาท  แผนกศัลยกรรม

โรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์  สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชุมพร