ด้านที่ 3  ด้านการจัดการเรียนรู้

ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุมถึงการพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง การมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้และการนำความรู้ความสามารถทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้


ตัวชี้วัดที่ 3.1 พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง 

พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถทักษะ โดยเฉพาะการทักษะการใช้ภาษาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา/นวัตกรรมใหม่ๆ เพื่อการจัดการเรียนการสอน สร้างสื่อการสอนและความรอบรู้ในเนื้อหาวิชาที่สอนและวิธีการสอน และรู้เท่าทันเทคโนโลยี

อบรมทักษะดิจิทัล 10 ทักษะ  ดูรูปภาพฉบับเต็ม >> คลิกที่นี่

อบรมพัฒนาความสามาระ ทักษะ เพื่อให้มีความรู้

ตัวชี้วัดที่ 3.2 มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ 

พัฒนาการจัดการเรียนรู้มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) เพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ร่วมกับคณะครูในกลุ่มและนอกกลุ่มสาระการเรียนรู้ นำความรู้ที่ได้มาสร้างหรือสื่อและนวัตกรรมเพื่อแก้ปัญหาผู้เรียนหรือพัฒนาผู้เรียนวิชาศิลปะ (นาฏศิลป์) ระดับชั้น ม.5

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ

ตัวชี้วัดที่ 3.3 นำความรู้ ความสามารถทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ 

การพัฒนาผู้เรียนและพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ 

จัดการเรียนรู้ พัฒนาผู้เรียน และจัดทำนวัตกรรม โดยใช้ความรู้ ทักษะที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม/อบรม/สัมมนา/การเข้าร่วมกิจกรรมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ/การนิเทศการสอน เป็นแบบอย่างที่ดีและเผยแพร่ตัวอย่างผลงานที่ได้จากการพัฒนาสู่ครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้โดยการนำความรู้ที่ได้จากการพัฒนาตนเองสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้

ฝึกซ้อมนักเรียนเข้าร่วมแข่งขันทักษะทางวิชาการ

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน [กิจกรรมชุมนุมร้อง เล่น เต้น รำ / กิจกรรมชุมนุมนาฏศิลป์ไทย