กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา

การแข่งขันเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี

คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน

    • นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1 - 3)

ประเภทและจำนวน ผู้เข้าแข่งขัน

    1. แข่งขันประเภทเดี่ยว
    2. จำนวนผู้เข้าแข่งขัน
      • ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1 - 3) จำนวน 1 รูป

วิธีดำเนินการ

    1. ส่งรายชื่อผู้เข้าแข่งขัน ตามวัน เวลาที่กำหนด
    2. เนื้อหา สุภาษิตกระทู้ตั้ง คณะกรรมการกำหนดให้ในวันแข่งขัน ส่วนสุภาษิตเชื่อม ผู้เข้าแข่งขันเตรียมมาเอง 1 สุภาษิต
    3. เนื้อหาการเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรมชั้นตรี ความยาวไม่น้อยกว่า 2 หน้า กระดาษ F4 (ตัวบรรจงครึ่งบรรทัด เว้นบรรทัด)
    4. ผู้แข่งขันที่ได้คะแนนสูงสุด ถือว่าเป็นผู้ชนะเลิศ
    5. ใช้เวลาแข่งขันนักธรรมชั้นละ 3 ชั่วโมง
    6. การตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นที่สิ้นสุด

เกณฑ์การให้คะแนน 100 คะแนน

    1. ใช้ตัวสะกดการันต์ถูกต้องตามหลักภาษา 20 คะแนน
    2. ใช้สำนวนสุภาพเรียบร้อย 20 คะแนน
    3. แต่งได้ครบตามกำหนด 20 คะแนน
    4. อ้างสุภาษิตที่เชื่อมได้ตามกฎ และบอกที่มาได้ถูกต้อง 20 คะแนน
    5. สะอาดไม่เปรอะเปื้อน 20 คะแนน

การแข่งขันเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นโท

คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน

    • นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นหรือตอนปลาย (ม.1 - 6) ไม่จำกัดระดับชั้น

ประเภทและจำนวน ผู้เข้าแข่งขัน

    1. แข่งขันประเภทเดี่ยว
    2. จำนวนผู้เข้าแข่งขัน
      • ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นหรือตอนปลาย (ม.1 - 6) จำนวน 1 รูป

วิธีดำเนินการ

    1. ส่งรายชื่อผู้เข้าแข่งขัน ตามวัน เวลาที่กำหนด
    2. เนื้อหา สุภาษิตกระทู้ตั้ง คณะกรรมการกำหนดให้ในวันแข่งขัน ส่วนสุภาษิตเชื่อม ผู้เข้าแข่งขันเตรียมมาเอง 2 สุภาษิต
    3. เนื้อหาการเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรมชั้นโท ความยาวไม่น้อยกว่า 3 หน้า กระดาษ F4 (ตัวบรรจงครึ่งบรรทัด เว้นบรรทัด)
    4. ผู้แข่งขันที่ได้คะแนนสูงสุด ถือว่าเป็นผู้ชนะเลิศ
    5. ใช้เวลาแข่งขันนักธรรมชั้นละ 3 ชั่วโมง
    6. การตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นที่สิ้นสุด

เกณฑ์การให้คะแนน 100 คะแนน

    1. ใช้ตัวสะกดการันต์ถูกต้องตามหลักภาษา 20 คะแนน
    2. ใช้สำนวนสุภาพเรียบร้อย 20 คะแนน
    3. แต่งได้ครบตามกำหนด 20 คะแนน
    4. อ้างสุภาษิตที่เชื่อมได้ตามกฎ และบอกที่มาได้ถูกต้อง 20 คะแนน
    5. สะอาดไม่เปรอะเปื้อน 20 คะแนน

การแข่งขันเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นเอก

คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน

    • นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นหรือตอนปลาย (ม.1 - 6) ไม่จำกัดระดับชั้น

ประเภทและจำนวน ผู้เข้าแข่งขัน

    1. แข่งขันประเภทเดี่ยว
    2. จำนวนผู้เข้าแข่งขัน
      • ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นหรือตอนปลาย (ม.1 - 6) จำนวน 1 รูป

วิธีดำเนินการ

    1. ส่งรายชื่อผู้เข้าแข่งขัน ตามวัน เวลาที่กำหนด
    2. เนื้อหา สุภาษิตกระทู้ตั้ง คณะกรรมการกำหนดให้ในวันแข่งขัน ส่วนสุภาษิตเชื่อม ผู้เข้าแข่งขันเตรียมมาเอง 3 สุภาษิต
    3. เนื้อหาการเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรมชั้นเอก ความยาวไม่น้อยกว่า 4 หน้า กระดาษ F4 (ตัวบรรจงครึ่งบรรทัด เว้นบรรทัด)
    4. ผู้แข่งขันที่ได้คะแนนสูงสุด ถือว่าเป็นผู้ชนะเลิศ
    5. ใช้เวลาแข่งขันนักธรรมชั้นละ 3 ชั่วโมง
    6. การตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นที่สิ้นสุด

เกณฑ์การให้คะแนน 100 คะแนน

    1. ใช้ตัวสะกดการันต์ถูกต้องตามหลักภาษา 20 คะแนน
    2. ใช้สำนวนสุภาพเรียบร้อย 20 คะแนน
    3. แต่งได้ครบตามกำหนด 20 คะแนน
    4. อ้างสุภาษิตที่เชื่อมได้ตามกฎ และบอกที่มาได้ถูกต้อง 20 คะแนน
    5. สะอาดไม่เปรอะเปื้อน 20 คะแนน

การแข่งขันบรรยายธรรม ภาคภาษาไทย

คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน

    1. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1 - 3)
    2. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 - 6)

ประเภทและจำนวน ผู้เข้าแข่งขัน

    1. แข่งขันประเภทเดี่ยว
    2. จำนวนผู้เข้าแข่งขัน
      • ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1 - 3) จำนวน 1 รูป
      • ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 - 6) จำนวน 1 รูป

วิธีดำเนินการ

    1. ส่งรายชื่อผู้เข้าแข่งขัน ตามวัน เวลาที่กำหนด
    2. เนื้อหาในการบรรยายธรรม
      • ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 2 หัวข้อ ให้จับสลากเลือก คือ
        1. “48 ปี วิถีปริยัติ นำปฏิบัติสู่สังคมไทย”
        2. ศีล 5 คือมรรคาแห่งชีวิต”
      • ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 2 หัวข้อ ให้จับสลากเลือก คือ
        1. “48 ปี วิถีปริยัติ นำปฏิบัติสู่สังคมไทย”
        2. ศีล 5 คือมรรคาแห่งชีวิต”
    3. ผู้แข่งขันที่ได้คะแนนสูงสุด ถือว่าเป็นผู้ชนะเลิศ
    4. ผู้แข่งขัน พูดไม่เกิน 5 นาที (4 นาที กรดกริ่ง 1 ครั้งยาว, 5 นาที กดกริ่ง 2 ครั้งยาว พูดเกินเวลาที่กำหนด ตัด 5 คะแนน/นาที
    5. ผู้แข่งขันต้องติดป้ายชื่อ และนั่งประจำที่นั่งจัดไว้ให้ เพื่อสะดวกในการแข่งขัน
    6. ใช้เวลาในการแข่งขันรูปละไม่เกิน 5 นาที

เกณฑ์การให้คะแนน 100 คะแนน

    1. อารัมภบทน่าสนใจ (เริ่มต้น-ลงท้าย) 10 คะแนน
    2. เนื้อเรื่อง
      • มีสาระตรงประเด็น(ตรงกับชื่อเรื่อง) 15 คะแนน
      • มีความชัดเจนสร้างสรรค์ 15 คะแนน
    3. การใช้ภาษาสละสลวย น้ำเสียงชวนฟัง 15 คะแนน
    4. น้ำเสียงการพูดถูกต้องตามอักขรวิธี 15 คะแนน
    5. การสรุปด้วยถ้อยคำกะทัดรัด,ประทับใจ 10 คะแนน
    6. บุคลิก/ ท่าทาง 10 คะแนน
    7. เวลาในการพูด 10 คะแนน

การแข่งขันตอบปัญหาวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน

    1. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1 - 3)
    2. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 - 6)

ประเภทและจำนวน ผู้เข้าแข่งขัน

    1. แข่งขันประเภทเดี่ยว
    2. จำนวนผู้เข้าแข่งขัน
      • ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1 - 3) จำนวน 1 รูป
      • ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 - 6) จำนวน 1 รูป

วิธีดำเนินการ และเกณฑ์ให้คะแนน 100 คะแนน

    1. ส่งรายชื่อผู้เข้าแข่งขัน ตามวัน เวลาที่กำหนด
    2. ใช้แบบทดสอบ จำนวน 50 ข้อ 100 คะแนน
    3. ใช้เวลาในการแข่งขัน 1 ชั่วโมง
    4. ผู้แข่งขันที่ได้คะแนนสูงสุด ถือว่าเป็นผู้ชนะเลิศ
    5. ผู้แข่งขันที่ได้คะแนนเท่ากัน ให้กรรมการดูคะแนน 10 ข้อแรก ว่าใครได้คะแนนมากกว่าเป็นผู้ชนะ แต่หากคะแนนเท่ากันอีกให้ดูคะแนน 10 ข้อต่อมา ดูทีละ 10 ข้อจนกว่า มีผู้ได้คะแนนมากกว่าเป็นผู้ชนะ

การแข่งขันตอบปัญหาวิชาพระพุทธศาสนา ได้แก่ ธรรม พุทธประวัติ และวินัย

คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน

    1. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1 - 3)
    2. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 - 6)

ประเภทและจำนวน ผู้เข้าแข่งขัน

    1. แข่งขันประเภทเดี่ยว
    2. จำนวนผู้เข้าแข่งขัน
      • ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1 - 3) จำนวน 1 รูป
      • ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 - 6) จำนวน 1 รูป

วิธีดำเนินการ และเกณฑ์ให้คะแนน 100 คะแนน

    1. ส่งรายชื่อผู้เข้าแข่งขัน ตามวัน เวลาที่กำหนด
    2. ใช้แบบทดสอบ จำนวน 50 ข้อ 100 คะแนน
    3. ใช้เวลาในการแข่งขัน 1 ชั่วโมง
    4. ผู้แข่งขันที่ได้คะแนนสูงสุด ถือว่าเป็นผู้ชนะเลิศ
    5. ผู้แข่งขันที่ได้คะแนนเท่ากัน ให้กรรมการดูคะแนน 10 ข้อแรก ว่าใครได้คะแนนมากกว่าเป็นผู้ชนะ แต่หากคะแนนเท่ากันอีกให้ดูคะแนน 10 ข้อต่อมา ดูทีละ 10 ข้อจนกว่า มีผู้ได้คะแนนมากกว่าเป็นผู้ชนะ