กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

การแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์

คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน

    1. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1 - 3)
    2. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 - 6)

ประเภทและจำนวน ผู้เข้าแข่งขัน

    1. แข่งขันประเภททีม ๆ ละ 3 รูป
    2. จำนวนผู้เข้าแข่งขัน
      • ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1 - 3) จำนวน 1 ทีม
      • ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 - 6) จำนวน 1 ทีม

วิธีดำเนินการ

    1. ส่งรายชื่อผู้เข้าแข่งขัน ตามวัน เวลาที่กำหนด
    2. เนื้อหาโครงงานที่ส่งเข้าประกวดต้องเป็นโครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ที่ใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ในการศึกษาหาความรู้เพื่อให้ได้คำตอบในเรื่องที่ศึกษา
    3. ใช้เวลาในการแข่งขัน 3 ชั่วโมง
    4. จัดส่งรายงานโครงงานเป็นรูปเล่ม ล่วงหน้าก่อนการแข่งขันโครงงานละ 3 เล่ม ให้สำนักงานกลุ่มที่ 2 ภายใน วันที่ 19 เดือน ธันวาคม 2562
    5. นำผังโครงงานมาแสดงตามเกณฑ์มาตรฐาน
      • ส่วนสูง 60 เซนติเมตร
      • ส่วนกว้าง ก 60 เซนติเมตร
      • ส่วนกว้าง ข 120 เซนติเมตร
      • ส่วนกว้าง ก 60 เซนติเมตร
    6. อุปกรณ์อื่น ๆ ที่นำมาสาธิตอาจวางบนโต๊ะ โดยไม่ยื่นออกมาจากโต๊ะเกิน 60 ซม.
    7. นำเสนอโครงงานต่อคณะกรรมการและตอบข้อซักถามใช้เวลาประมาณ 10 นาที
    8. ประเภทสิ่งประดิษฐ์ ผู้ส่งโครงงานเข้าประกวดต้องจัดเตรียมมาเอง
    9. พื้นที่จัดวางแผงโครงงาน คณะกรรมการจัดให้เท่ากันไม่เกิน 1.50 ม. X 1.00 ม.
    10. โต๊ะสำหรับวางโครงงาน ให้นำมาเอง

เกณฑ์การให้คะแนน 100 คะแนน

    1. เอกสารรายงานโครงงาน 35 คะแนน
      • ความถูกต้องตามโครงสร้างของเอกสาร 10 คะแนน
      • การใช้ภาษาและคำศัพท์ทางวิทยาศาสตร์ 5 คะแนน
      • การใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์และนำเสนอข้อมูลชัดเจน 10 คะแนน
      • การสรุปและอภิปรายผลการทดลอง 5 คะแนน
      • ประโยชน์ที่ได้รับ 5 คะแนน
    2. การจัดแสดงโครงงานวิทยาศาสตร์ 25 คะแนน
      • ความเหมาะสมในการใช้อุปกรณ์จัดแสดงโครงงาน 5 คะแนน
      • ขั้นตอนการนำเสนอผลงาน การลำดับเรื่องนำเสนอ 5 คะแนน
      • ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ การนำเสนอข้อมูล การใช้วัสดุ ในการทำบอร์ดและโครงงาน 10 คะแนน
      • ความประณีต ความสวยงามและความคงทน 5 คะแนน
    3. การนำเสนอและตอบข้อซักถามเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์ 40 คะแนน
      • การอธิบาย แสดงให้เห็นถึงความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่ทำ 10 คะแนน
      • การตอบคำถาม อย่างมีเหตุผล 10 คะแนน
      • การอ้างอิงหลักฐานข้อมูลจากการทดลองและจากเอกสาร 5 คะแนน
      • การแสดงให้เห็นถึงความมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์ เช่นมีเหตุผล 5 คะแนน
      • ข้อคิดเห็นที่เกี่ยวกับประโยชน์จากการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ 5 คะแนน
      • การแก้ไขปัญหา (นำไปใช้ประโยชน์) 5 คะแนน

บทคัดย่อ

    • กิตติกรรมประกาศ
    • สารบัญตาราง
    • สารบัญรูปภาพ
    • บทที่ 1 บทนำ
    • บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
    • บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการดำเนินการ
    • บทที่ 4 ผลการดำเนินการ
    • บทที่ 5 สรุปผลการดำเนินการ /อภิปรายผลการดำเนินการ
    • การอภิปรายผลการดำเนิการ ความยาวไม่เกิน 20 หน้า
    • ภาคผนวก ไม่เกิน 10 หน้า
    • บรรณานุกรม

หมายเหตุ

    • ขนาดของกระดาษเขียนรายงานให้ใช้กระดาษพิมพ์ ขนาดเอ 4 พิมพ์หน้าเดียว ความยาวไม่เกิน 20 หน้า เฉพาะบทที่ 1 - 5 รวมสรุปผลการดำเนินการ อาจมีภาคผนวกได้อีกไม่เกิน 10 หน้า และทำรายงานส่งจำนวน 3 เล่ม
    • รายงานฉบับใดที่มีความยาวเกินกว่าที่กำหนด จะถูกตัดคะแนน

การแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภททดลอง

คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน

    1. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1 - 3)
    2. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 - 6)

ประเภทและจำนวน ผู้เข้าแข่งขัน

    1. แข่งขันประเภททีม ๆ ละ 3 รูป
    2. จำนวนผู้เข้าแข่งขัน
      • ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1 - 3) จำนวน 1 ทีม
      • ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 - 6) จำนวน 1 ทีม

วิธีดำเนินการ

    1. ส่งรายชื่อผู้เข้าแข่งขัน ตามวัน เวลาที่กำหนด
    2. เนื้อหาโครงงานที่ส่งเข้าประกวดต้องเป็นโครงงานประเภททดลอง ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ที่ใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ในการศึกษาหาความรู้เพื่อให้ได้คำตอบในเรื่องที่ศึกษา
    3. จัดส่งรายงานโครงงานเป็นรูปเล่ม ล่วงหน้าก่อนการแข่งขันโครงงานละ 3 เล่ม ให้สำนักงานกลุ่มที่ 2 ภายใน วันที่ 19 เดือน ธันวาคม 2562
    4. นำผังโครงงานมาแสดงตามเกณฑ์มาตรฐาน
      • ส่วนสูง 60 เซนติเมตร
      • ส่วนกว้าง ก 60 เซนติเมตร
      • ส่วนกว้าง ข 120 เซนติเมตร
      • ส่วนกว้าง ก 60 เซนติเมตร
    5. อุปกรณ์อื่น ๆ ที่นำมาสาธิตอาจวางบนโต๊ะ โดยไม่ยื่นออกมาจากโต๊ะเกิน 60 ซม.
    6. นำเสนอโครงงานต่อคณะกรรมการและตอบข้อซักถามใช้เวลาประมาณ 10 นาที
    7. ประเภททดลอง ผู้ส่งโครงงานเข้าประกวดต้องจัดเตรียมมาเอง
    8. พื้นที่จัดวางแผงโครงงาน คณะกรรมการจัดให้เท่ากันไม่เกิน 1.50 ม. X 1.00 ม.
    9. โต๊ะสำหรับวางโครงงาน ให้นำมาเอง

เกณฑ์การให้คะแนน 100 คะแนน

    1. เอกสารรายงานโครงงาน 35 คะแนน
      • ความถูกต้องตามโครงสร้างของเอกสาร 10 คะแนน
      • การใช้ภาษาและคำศัพท์ทางวิทยาศาสตร์ 5 คะแนน
      • การใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์และนำเสนอข้อมูลชัดเจน 10 คะแนน
      • การสรุปและอภิปรายผลการทดลอง 5 คะแนน
      • ประโยชน์ที่ได้รับ 5 คะแนน
    2. การจัดแสดงโครงงานวิทยาศาสตร์ 25 คะแนน
      • ความเหมาะสมในการใช้อุปกรณ์จัดแสดงโครงงาน 5 คะแนน
      • ขั้นตอนการนำเสนอผลงาน การลำดับเรื่องนำเสนอ 5 คะแนน
      • ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ การนำเสนอข้อมูล การใช้วัสดุ ในการทำบอร์ดและโครงงาน 10 คะแนน
      • ความประณีต ความสวยงามและความคงทน 5 คะแนน
    3. การนำเสนอและตอบข้อซักถามเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์ 40 คะแนน
      • การอธิบาย แสดงให้เห็นถึงความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่ทำ 10 คะแนน
      • การตอบคำถาม อย่างมีเหตุผล 10 คะแนน
      • การอ้างอิงหลักฐานข้อมูลจากการทดลองและจากเอกสาร 5 คะแนน
      • การแสดงให้เห็นถึงความมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์ เช่นมีเหตุผล 5 คะแนน
      • ข้อคิดเห็นที่เกี่ยวกับประโยชน์จากการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ 5 คะแนน
      • การแก้ไขปัญหา (นำไปใช้ประโยชน์) 5 คะแนน

บทคัดย่อ

    • กิตติกรรมประกาศ
    • สารบัญตาราง
    • สารบัญรูปภาพ
    • บทที่ 1 บทนำ
    • บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
    • บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการดำเนินการ
    • บทที่ 4 ผลการดำเนินการ
    • บทที่ 5 สรุปผลการดำเนินการ /อภิปรายผลการดำเนินการ
    • การอภิปรายผลการดำเนิการ ความยาวไม่เกิน 20 หน้า
    • ภาคผนวก ไม่เกิน 10 หน้า
    • บรรณานุกรม

หมายเหตุ

    • ขนาดของกระดาษเขียนรายงานให้ใช้กระดาษพิมพ์ ขนาดเอ 4 พิมพ์หน้าเดียว ความยาวไม่เกิน 20 หน้า เฉพาะบทที่ 1 - 5 รวมสรุปผลการดำเนินการ อาจมีภาคผนวกได้อีกไม่เกิน 10 หน้า และทำรายงานส่งจำนวน 3 เล่ม
    • รายงานฉบับใดที่มีความยาวเกินกว่าที่กำหนด จะถูกตัดคะแนน

การแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสำรวจ

คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน

    1. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1 - 3)
    2. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 - 6)

ประเภทและจำนวน ผู้เข้าแข่งขัน

    1. แข่งขันประเภททีม ๆ ละ 3 รูป
    2. จำนวนผู้เข้าแข่งขัน
      • ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1 - 3) จำนวน 1 ทีม
      • ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 - 6) จำนวน 1 ทีม

วิธีดำเนินการ

    1. ส่งรายชื่อผู้เข้าแข่งขัน ตามวัน เวลาที่กำหนด
    2. เนื้อหาโครงงานที่ส่งเข้าประกวดต้องเป็นโครงงานประเภทสำรวจ ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ที่ใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ในการศึกษาหาความรู้เพื่อให้ได้คำตอบในเรื่องที่ศึกษา
    3. จัดส่งรายงานโครงงานเป็นรูปเล่ม ล่วงหน้าก่อนการแข่งขันโครงงานละ 3 เล่ม ให้สำนักงานกลุ่มที่ 2 ภายใน วันที่ 19 เดือน ธันวาคม 2562
    4. นำผังโครงงานมาแสดงตามเกณฑ์มาตรฐาน
      • ส่วนสูง 60 เซนติเมตร
      • ส่วนกว้าง ก 60 เซนติเมตร
      • ส่วนกว้าง ข 120 เซนติเมตร
      • ส่วนกว้าง ก 60 เซนติเมตร
    5. อุปกรณ์อื่น ๆ ที่นำมาสาธิตอาจวางบนโต๊ะ โดยไม่ยื่นออกมาจากโต๊ะเกิน 60 ซม.
    6. นำเสนอโครงงานต่อคณะกรรมการและตอบข้อซักถามใช้เวลาประมาณ 10 นาที
    7. ประเภทสำรวจ ผู้ส่งโครงงานเข้าประกวดต้องจัดเตรียมมาเอง
    8. พื้นที่จัดวางแผงโครงงาน คณะกรรมการจัดให้เท่ากันไม่เกิน 1.50 ม. X 1.00 ม.
    9. โต๊ะสำหรับวางโครงงาน ให้นำมาเอง

เกณฑ์การให้คะแนน 100 คะแนน

    1. เอกสารรายงานโครงงาน 35 คะแนน
      • ความถูกต้องตามโครงสร้างของเอกสาร 10 คะแนน
      • การใช้ภาษาและคำศัพท์ทางวิทยาศาสตร์ 5 คะแนน
      • การใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์และนำเสนอข้อมูลชัดเจน 10 คะแนน
      • การสรุปและอภิปรายผลการทดลอง 5 คะแนน
      • ประโยชน์ที่ได้รับ 5 คะแนน
    2. การจัดแสดงโครงงานวิทยาศาสตร์ 25 คะแนน
      • ความเหมาะสมในการใช้อุปกรณ์จัดแสดงโครงงาน 5 คะแนน
      • ขั้นตอนการนำเสนอผลงาน การลำดับเรื่องนำเสนอ 5 คะแนน
      • ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ การนำเสนอข้อมูล การใช้วัสดุ ในการทำบอร์ดและโครงงาน 10 คะแนน
      • ความประณีต ความสวยงามและความคงทน 5 คะแนน
    3. การนำเสนอและตอบข้อซักถามเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์ 40 คะแนน
      • การอธิบาย แสดงให้เห็นถึงความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่ทำ 10 คะแนน
      • การตอบคำถาม อย่างมีเหตุผล 10 คะแนน
      • การอ้างอิงหลักฐานข้อมูลจากการทดลองและจากเอกสาร 5 คะแนน
      • การแสดงให้เห็นถึงความมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์ เช่นมีเหตุผล 5 คะแนน
      • ข้อคิดเห็นที่เกี่ยวกับประโยชน์จากการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ 5 คะแนน
      • การแก้ไขปัญหา (นำไปใช้ประโยชน์) 5 คะแนน

บทคัดย่อ

    • กิตติกรรมประกาศ
    • สารบัญตาราง
    • สารบัญรูปภาพ
    • บทที่ 1 บทนำ
    • บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
    • บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการดำเนินการ
    • บทที่ 4 ผลการดำเนินการ
    • บทที่ 5 สรุปผลการดำเนินการ /อภิปรายผลการดำเนินการ
    • การอภิปรายผลการดำเนิการ ความยาวไม่เกิน 20 หน้า
    • ภาคผนวก ไม่เกิน 10 หน้า
    • บรรณานุกรม

หมายเหตุ

    • ขนาดของกระดาษเขียนรายงานให้ใช้กระดาษพิมพ์ ขนาดเอ 4 พิมพ์หน้าเดียว ความยาวไม่เกิน 20 หน้า เฉพาะบทที่ 1 - 5 รวมสรุปผลการดำเนินการ อาจมีภาคผนวกได้อีกไม่เกิน 10 หน้า และทำรายงานส่งจำนวน 3 เล่ม
    • รายงานฉบับใดที่มีความยาวเกินกว่าที่กำหนด จะถูกตัดคะแนน

การแข่งขันตอบปัญหาวิชาวิทยาศาสตร์

คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน

    1. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1 - 3)
    2. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 - 6)

ประเภทและจำนวน ผู้เข้าแข่งขัน

    1. แข่งขันประเภทเดี่ยว
    2. จำนวนผู้เข้าแข่งขัน
    3. ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1 - 3) จำนวน 1 รูป
    4. ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 - 6) จำนวน 1 รูป

วิธีดำเนินการ และเกณฑ์ให้คะแนน 100 คะแนน

    1. ส่งรายชื่อผู้เข้าแข่งขัน ตามวัน เวลาที่กำหนด
    2. ใช้แบบทดสอบ จำนวน 50 ข้อ 100 คะแนน
    3. ใช้เวลาในการแข่งขัน 1.30 ชั่วโมง
    4. ผู้แข่งขันที่ได้คะแนนสูงสุด ถือว่าเป็นผู้ชนะเลิศ
    5. ผู้แข่งขันที่ได้คะแนนเท่ากัน ให้กรรมการดูคะแนน 10 ข้อแรก ว่าใครได้คะแนนมากกว่าเป็นผู้ชนะ แต่หากคะแนนเท่ากันอีกให้ดูคะแนน 10 ข้อต่อมา ดูทีละ 10 ข้อจนกว่า มีผู้ได้คะแนนมากกว่าเป็นผู้ชนะ