ดร.นภาจิตร ดุสดี
ตำแหน่งศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ สพม.นนทบุรี

ข้อมูลส่วนตัว
ชื่อ-สกุล      นางสาวนภาจิตร ดุสดี
ที่อยู่      20 ถ.พิบูลสงคราม ซ.พิบูลสงคราม 5 แยก 1 ต.สวนใหญ่  อ.เมือง  จ.นนทบุรี  11000
Email       leelawadee27@gmail.com
Facebook https://www.facebook.com/profile.php?id=100026861870990
อาชีพ       รับราชการ
ตำแหน่ง    ศึกษานิเทศน์ ชำนาญการพิเศษ

ประวัติการศึกษา

พ.ศ. 2563  สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)

      สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

      คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ  

พ.ศ. 2556  สำเร็จการศึกษาหลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต (ค.อ.ม.)

      สาขาวิชาเทคโนโลยีเทคนิคศึกษา แขนงสื่อคอมพิวเตอร์

      คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

พ.ศ. 2546  สำเร็จการศึกษาหลักสูตรครุศาสตร์ศึกษาบัณฑิต (คบ.)

      สาขาวิชาเอกเคมี  สถาบันราชภัฏมหาสารคาม


ประสบการณ์การทำงาน

พ.ศ. 2565 - ปัจจุบัน  ศึกษานิเทศน์ชำนาญการพิเศษ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานนทบุรี

พ.ศ. 2564 - 2565  ศึกษานิเทศน์ชำนาญการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานนทบุรี

พ.ศ. 2563 - 2564  ศึกษานิเทศน์ชำนาญการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3

พ.ศ. 2559  ครู ค.ศ. 2  โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม อ.เมือง จ.นนทบุรี

พ.ศ. 2554  ครู ค.ศ. 1  โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม อ.เมือง จ.นนทบุรี

พ.ศ. 2552  ครูผู้ช่วย โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม อ.เมือง จ.นนทบุรี   


ภาระงานอื่น ๆ / ประสบการณ์

พ.ศ. 2566 ปัจจุบัน ศึกษานิเทศน์ชำนาญการพิเศษ ปฏิบัติหน้าที่ ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมการศึกษาทางไกล เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานนทบุรี

พ.ศ. 2566-ปัจจุบัน รองผู้อำนวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สพม.นนทบุรี

พ.ศ. 2564-ปัจจุบัน หัวหน้างานส่งเสริมวิจัย พัฒนาสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา สพม.นนทบุรี

พ.ศ. 2563-2564 หัวหน้างานส่งเสริมวิจัย พัฒนาสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา สพม. เขต 3

พ.ศ. 2563-2564 คณะทำงานและกรรมการด้านแพลตฟอร์มด้านการศึกษาเพื่อความเป็นเลิศ (Digital Education Excellence Platform: DEEP)  หรือ DEEP ของกระทรวงศึกษาธิการ

พ.ศ. 2564 คณะทำงานและกรรมการกำหนดระดับความรู้และแนวทางการประเมินระดับความรู้ ตามมาตรฐานสมรรถนะทางด้านดิจิทัล (Digital Literacy) สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของกระทรวงศึกษาธิการ

พ.ศ. 2564 คณะทำงานและกรรมการโครงการการนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของกระทรวงศึกษาธิการ

พ.ศ. 2564 คณะทำงานและกรรมการการทำโครงการแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดนนทบุรี

พ.ศ. 2562 - 2565 และจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จังหวัดนนทบุรี

พ.ศ. 2563 วิทยากรอบรมเชิงปฏิบัติการโครงการอบรมและพัฒนาทักษะอาชีวศึกษาด้านการจัดการ

เรียนออนไลน์ ของสำนักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา

พ.ศ. 2563 วิทยากรอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาสรรถนะครูดิจิทัลและการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ (วิทยาการคำนวณ) ให้กับผู้ดูแลระบบ DEEP ระดับสถานศึกษา ของ สพม. เขต 3

พ.ศ. 2563 วิทยากรอบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างห้องเรียนออนไลน์ด้วย Microsoft Teams ของ สพม. เขต 3

พ.ศ. 2563 วิทยากรอบรมเชิงปฏิบัติการอบรมการสร้างบทเรียนออนไลน์ ด้วย Classroom ของ สพม. เขต 3

พ.ศ. 2559 วิทยากรอบรมเชิงปฏิบัติการ "การเข้าถึงข้อมูล เข้าใจง่าย สไตล์ Infographic"

พ.ศ. 2558-2559 ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างสื่อ e-Learning บนมือถือและแทบเล็ตด้วย Moodle LMS

พ.ศ. 2557-2558 เป็นคณะกรรมการดำเนินโครงการรินน้ำใจสู่น้องชาวใต้

 

ผลงานด้านเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาสำหรับงานวิจัย

ผู้วิจัยนำผลการวิจัยผลักดันให้สมรรถนะครูดิจิทัลได้รับการยอมรับเข้าเป็นส่วนหนึ่งของการกำหนดระดับความรู้และแนวทางการประเมินระดับความรู้ ตามมาตรฐานสมรรถนะทางด้านดิจิทัล (Digital Literacy) สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของกระทรวงศึกษาธิการ

 

ผลงานทางวิชาการ

นภาจิตร ดุสดี. (2560). เซลล์ไฟฟ้าเคมี. พิมพ์ครั้งที่ 1. จำนวน 500 เล่ม. กรุงเทพมหานคร : สำนักผลิตตำราเรียนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2560

นภาจิตร ดุสดี และปณิตา วรรณพิรุณ. “ระบบนิเวศการเรียนรู้ดิจิทัลสำหรับชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพแบบเกมมิฟิเคชันผ่านคลาวด์เทคโนโลยีเพื่อส่งเสริมสมรรถนะครูใน การประชุมวิชาการระดับนานาชาติด้านเทคโนโลยีสารสนเทศประยุกต์และระบบสารสนเทศ ครั้งที่ 4 (ACTIS and IACTIS-2018) และ การประชุมวิชาการระดับชาติด้านบริหารธุรกิจ (NCOBA-2018). มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. 23 กรกฎาคม 2561 : 201 - 206.

นภาจิตร ดุสดี และปณิตา วรรณพิรุณ.  (2563).  ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพผ่านคลาวด์เทคโนโลยีเพื่อส่งเสริมสมรรถนะครู. วารสารวิชาการครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2563, หน้า 163 – 172.

Napajit Dusadee, Prachyanun Nilsook, Pallop Piriyasurawong and Panita Wannapiroon.  (2020). Professional Learning Community Training Model through Cloud Technology to Enhance Competence Learning Management Teacher. In: Auer M., Hortsch H., Sethakul P. (eds) The Impact of the 4th Industrial Revolution on Engineering Education. ICL 2019. Advances in Intelligent Systems and Computing, vol 1135. Springer, Cham

Napajit Dusadee, Pallop Piriyasurawong. (2020). Virtual Professional Training Community Model for Developing Digital Teacher Competencies. Universal Journal of Educational Research 8(9): 4234-4241, 2020

ทักษะและความสามารถพิเศษอื่นๆ

สามารถเขียนเว็บไซต์ด้วยโปรแกรม Moodle ชึ่งเป็นแบบ learning management system

สามารถใช้โปรแกรม adobe InDesign สร้าง application

สามารถใช้โปรแกรม adobe creative สร้าง application และสร้างบทเรียนแบบ active learning

สามารถใช้โปรแกรม adobe Photoshop ได้

สามารถใช้โปรแกรม Microsoft office 365 ได้


สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานนทบุรี 

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

หมายเลขติดต่อผู้ประสานงาน

 (Tel : 084-7106905)