DOWNLOAD ผลงานทางวิชาการ 

บทความวิจัย เรื่อง กระบวนการนิเทศการศึกษาด้วยชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพเสมือน เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ บทความวิจัย

(EDUCATION IN-SERVICE PROCESS WITH VIRTUAL PROFESSIONAL LEARNING COMMUNITY TO DEVELOP MANAGEMENT LEARNING COMPUTING SCIENCE )

บทความวิจัย เรื่อง รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานของโรงเรียนในสังกัด สพม.นนทบุรี  บทคัดย่องานวิจัย
(HYBRID LEARNING MANAGEMENT MODEL OF AFFILIATED SCHOOLS SPM.NONTHABURI)

This research aims (1) to analyze the educational management conditions of the school, (2) to develop educational management guidelines (3) to establish learning management patterns in the situation of the coronavirus pandemic of Nonthaburi secondary school districts. The samples used in the research included 18 affiliated school administrators and teachers who taught in eight learning materials by selecting a sample. Specific 577 people, the tools used in the research include 1) executive interviews,

2) teacher interviews. The results of the research were as follows: (1) Analysis of the condition of the school's educational management It found that there were 10 strengths, 15 weakness issues, 18 issues of opportunity, and 8 threat issues. (2) The development of the study management approach found that the strategic charts are in proactive strategies and corrective strategies. As follows: 1. Develop digital technology to support digital organizations for high-competencies schools, 2. Promote digital technology capabilities to improve digital performance for teachers and education personnel, 3. Develop digital technology for professional services. Create SPM Intelligent values (S-support, P-professional,

M-management) (3) Learning management patterns in the situation of the coronavirus pandemic see 4 On Mixed Learning Management: On-Ari, On-Hand, Online and On-Demand - optimizes the learning management of affiliated schools.

Keywords: Learning Management, Hybrid Learning 

นางสาวนภาจิตร ดุสดี

นายคู่บุญ ศกุนตนาค

นางสาวศิริมาศ เจนหัตถการกิจ

โครงการส่งเสริมการทำวิจัยเชิงพื้นที่เพื่อการจัดทำนโยบายการจัดการเรียนรู้วิถีใหม่ รูปเล่มงานวิจัย

งำนวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อวิเครำะห์สภำพกำรจัดกำรศึกษำของโรงเรียนลักษณะต่ำงๆ ด้ำนข้อดี ข้อเสีย โอกำส อุปสรรค (SWOT) ในกำรบริหำรจัดกำร กำรจัดกำรเรียนรู้ และกำรดูแล ช่วยเหลือนักเรียน (2) เพื่อพัฒนำแนวทำงกำรจัดกำรศึกษำเพื่อพัฒนำโรงเรียนทุกลักษณะในกำร บริหำรจัดกำรกำรจัดกำรเรียนรู้ และกำรดูแลช่วยเหลือนักเรียน (3) เพื่อจัดท ำข้อเสนอเชิงนโยบำยกำร จัดกำรศึกษำในสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนำ 2019 ในระดับเขตพื้นที่ กำรศึกษำ และระดับส ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน กลุ่มตัวอย่ำงที่ใช้ในกำรวิจัย ได้แก่ ผู้บริหำรสถำนศึกษำสังกัดส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำนนทบุรี จ ำนวน 18 โรงเรียน และครูที่ สอนใน 8 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ โดยกำรเลือกกลุ่มตัวอย่ำงแบบเจำะจง จ ำนวน 577 คน เครื่องมือที่ใช้ใน กำรวิจัยประกอบด้วย (1) แบบสัมภำษณ์ผู้บริหำร (2) แบบสัมภำษณ์ครู ผลกำรวิจัยพบว่ำ 1. กำรวิเครำะห์สภำพกำรจัดกำรศึกษำของโรงเรียนลักษณะต่ำงๆ ด้ำนข้อดี ข้อเสีย โอกำส อุปสรรค (SWOT) ในกำรบริหำรจัดกำร กำรจัดกำรเรียนรู้ และกำรดูแลช่วยเหลือนักเรียน พบว่ำ ประเด็นจุดแข็ง มี 10 ประเด็น ประเด็นจุดอ่อนมี 15 ประเด็น ประเด็นโอกำส มี 18 ประเด็น และ ประเด็นภัยคุกคำม มี 8 ประเด็น 2. กำรพัฒนำแนวทำงกำรจัดกำรศึกษำเพื่อพัฒนำโรงเรียนทุกลักษณะในกำรบริหำรจัดกำรกำร จัดกำรเรียนรู้ และกำรดูแลช่วยเหลือนักเรียน พบว่ำอยู่ในขอบเขตของจุดอ่อน และโอกำส และ แผนภูมิ Startegic Map อยู่ในขอบเขตของแผนกลยุทธ์เชิงรุก และแผนกลยุทธ์เชิงแก้ไข 3. กำรจัดท ำข้อเสนอเชิงนโยบำยกำรจัดกำรศึกษำในสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของโรคติด เชื้อไวรัสโคโรนำ 2019 ในระดับเขตพื้นที่กำรศึกษำ และระดับส ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้น พื้นฐำน น ำเสนอยุทธศำสตร์กำรพัฒนำจัดกำรศึกษำในสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนำ 2019 ดังนี้ ยุทธศำสตร์ที่ 1: พัฒนำระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสนับสนุนองค์กำรดิจิทัล ส ำหรับสถำนศึกษำสมรรถนะสูง ยุทธศำสตร์ที่ 2: ส่งเสริมควำมสำมำรถทำงด้ำนเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อ พัฒนำสมรรถนะดิจิทัลส ำหรับครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ ระดับกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน และ ยุทธศำสตร์ที่ 3: พัฒนำระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อกำรให้บริกำรทำงวิชำชีพ เกิดค่ำนิยม คือ SPM Intelligent (S-support, P-professional, M-management) 

การขับเคลื่อนการดำเนินงานโครงการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ Active Learning ร่วมกับภาคีเครือข่าย รูปเล่มรายงาน

แบบถอดบทเรียนการจัดการเรียนรู้ Active Learning ร่วมกับภาคีเครือข่ายที่ประสบผลสำเร็จ โรงเรียนราษฎร์นิยม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานนทบุรี