การรู้เท่าทันสื่อ

การรู้เท่าทันสื่อ (Media Literacy)

การรู้เท่ทันสื่อ คื คารอนสื่อให้ออก เพื่อพัฒนทักษะในกรข้ถึงสือ การวิเคราะห์สือ การดีความเนื้อหาของสือ การประมินคำ และข้าใจผลกระทของอ และสมารถใช้สือให้กิดประยชน์ หรือง่าย ๆ ก็คือ การที่เราไม่หลงเชื่เนื้อหาที่ด้อำน ด้ยิน ได้ที แต่สมารด วิเคราะห์ สสัย และรู้จัตั้งคำถามวสิ่งนั้นจริงหรือไม่จริงใครเป็นคนให้ข้อมูล ขาต้องการสื่ออะไร หรือมีจุดมุ่งหมายแอบแฝงหรือไม่

องค์ประกอบของการรู้เท่ทันสื่อ

ในบริบทของสังคมไทยประกอบด้วยองค์ประกอบ 5 ด้าน คือ

1) การเปิดรับสื่อ

2) การวิเคราะห์สื่อ

3) การเข้าใจสื่อ

4) การประเมินค่าสื่อ

5) การใช้สื่อให้เกิดประโยชน์

โดยองค์ประกอบทั้ง 5 เกี่ยวพันต่อเนื่องตาม

ลำดับ และปรับใช้ให้เหมาะสมกับกระบวนการเรียนรู้

ของทุกกลุ่มชนในสังคมไทย

1) การเปิดรับสื่อ คือ กรรู้เท่ทันการเปิดรับสื่อของประสาทสัมผัส ห ตา จมูก ลิ้น สัมผัสของเราซึ่งเมื่อเปิดรับแล้วสมองจะสั่งการให้คิดและปรุงแต่งให้เกิดอารมณ์ต่ง ๆ ตามมา การรู้เท่าทันสื่อในขั้นของการรับรู้อารมณ์ตนเองจึงเป็นสิ่งสำคัญที่ต้องแยกความคิดและอารมณ์ออกจากกัน และความคิดจะทำให้เรารับรู้ความจริงว่ "อะไรเป็นสิ่งที่สื่อสร้างขึ้น" เป็นด้น

2) การวิเคราะห์สื่อ คือ การแยกแยะองค์ประกอบในการนำเสนอของสื่อว่ามีวัตถุประสงค์อะไร

3) การเข้าใจสื่อ คือ การตีความสื่อหลังจากเปิดรับสื่อไปแล้ว เพื่อทำความเข้ใจในสิ่งที่สื่อนำเสนอ ซึ่งผู้รับสารแต่ละคนก็จะมีความเข้าใจสื่อได้ไม่เหมือนกันตีความไปคนละแบบ ขึ้นอยู่กับประสบการณ์ พื้นฐานการศึกษา คุณสมบัติในการเรียนรู้ ตลอดจนการรับรู้ข้อมูลของแต่ละบุคคลที่ไม่เท่ากันมาก่อน