คำศัพท์ DAKAR

ASO

ASO stands for Amaury Sport Organization, the organizers of the Dakar Rally. The original founder, Gilbert Sabine, sold the rights to the rally to the Amaury Group in 1993 under the name the Thierry Sabine Organization (TSO). Following a restructuring in 2002, responsibility for the Dakar Rally was transferred to the ASO Motor Sports Division, and from 2003 ASO became the official organizer.

Assistance (Back-up) Class

Back-up teams normally follow a different route to the race vehicles as they travel from one bivouac to the next to provide support services. Since contestants can only receive support from other contestants and mechanics who have been registered as assistance staff, these assistance staff play a crucial role in the make-up of the team. In the past, so called “air mechanics” were allowed to fly into bivouacs by plane, but this was banned in 2002 except for on rest days, and this has now been abolished altogether.

Assistance route

Assistance vehicles travel a different route to the race vehicles. The route is set out by the rally organizers beforehand, and follows sealed roads where possible. Detours are often required in order to reach the bivouac points, making the assistance route longer than the race route. In remote areas, assistance vehicles are occasionally required to use the same route as the SS race vehicles. Since they are not permitted to leave the bivouac until all the race vehicles have departed, the race among the assistance vehicles to reach the next bivouac can be as fierce as the competition rally itself.

Assistance vehicles and trucks

Assistance vehicles are used to transport key personnel such as mechanics and managers, while assistance trucks carry large quantities of spare parts, tires and other materials. Assistance trucks are also fitted with equipment such as power generators and air compressors. At night, the bivouac becomes a hive of frenetic activity under night lights surrounded by a circle of trucks.

Bivouac (บิบ-แว)

บิบแวค คือ ค่ายพักแรมชั่วคราว ทุกวันในการแข่งดาการ์การแข่งขันจะ เริ่ม และ จบลง ที่บิบแวค ในค่ายจะมีคนอาศัยอยู่ถึงประมาณ 4,000 คน ซึ่งรวมไปด้วย ผู้ร่วมแข่งขัน ช่าง สมาชิกทีม ผู้จัดงาาน เจ้าหน้าที่ปฐมพยาบาล และ สื่อมวลชน บิบแวคจะเป็นเหมือนกับเมืองขนาดย่อมๆที่เคลื่อนที่ในได้แต่ละวัน จะมีหน่วยเสบียงในการจัดเตรียมอาหารให้กับคนในงาน และมีแม้แต่ทีมรักษาความสะอาด บิบแวคมักจะตั้งอยู่บริเวณใกล้กับสนามบินเพื่อที่ ผู้จัดงาน สื่อมวลชน และบุคคลที่ไม่ได้ร่วมกับการแข่งขันสามารถย้ายสถานที่จากหนึ่งบิบแวค ไปยังอีก บิบแวค ได้โดยเฮลิคอปเตอร์ หรือ เครื่องบิน

Briefing (บรีฟ-ฟิ่ง)

บรีฟฟิ่ง คือ การที่ผู้จัดงานจะให้รายละเอียดเกี่ยวการแข่งในสเตจของวันถัดไป ซึ่งจะให้ในช่วงเย็น ประมาณ 3 ทุ่ม ที่บิบแวค โดยจะมีรายละเอียดมาเป็น 3 ภาษา ได้แก่ ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศษ และ ภาษาสเปน

Camion

Camion is the French word for truck (including ordinary road trucks as well as the racing camions featured in the Paris-Dakar).

Check Point [CP] (เช็ก-พ้อย)

Check Point (CP) หรือ เช็คพอยน์ คือ จุดที่ใช้ตรวจสอบว่าผู้เข้าแข่งขันที่นั้นขับไปตามเส้นทางที่จัดไว้หรือไม่ โดยทั้วไปจะมี 3 หรือ 4 CP ในแต่ละ SS และบางทีก็จะมีในช่วง Liason ด้วย ที่จุด CP ผู้เข้าแข่งขันจะต้องนำการ์ดยืนให้กับเจ้าหน้าที่ผู้จัดงานเพื่อทำการแสตมป์ จะมีบทลงโทษหนักหากพาหนะไม่ได้ผ่าน CP ดังนั้นการมั่นใจว่าจะผ่าน CP ถือว่าสำคัญมากสำหรับคนนำทาง

FIA (เอฟ-ไอ-เอ)

FIA (Federation Internationale de l’Automobile) หรือ สหพันธยานยนต์นานาชาติ  โดยความรับผิดชอบหลักขององค์กร FIA ก็คือ การพัฒนาวงการมอเตอร์สปอร์ตทั่วโลกโดยผ่านตัวแทนสมาชิก เช่น F1 และ การแข่ง WRC แต่ถว่าขณะนี้ไม่มีการแข่งแรลลี่ขนาดใหญ่สำหรับรถบรรทุก ASO จึงเป็นคนจัดการแข่งขัน วางแผน และกฎระเบียบ สำหรับการแข่งหมวดรถบรรทุก

Liaison (ลี-เอ-ซอง)

ลีเอซอง คือ เส้นทางที่ไม่ได้ทำการจับเวลาในการแข่งดาการ์ ด้วยเหตุผลด้านความปลอดภัยการแข่ง SS ไม่สามารถเริ่มต้น และ จบที่ SS ที่บิบแวค (ค่ายพัก) ได้ ผู้เข้าแข่งขับจึงต้องขับจากบิบแวคไปยังจุดเริ่มต้นของ SS เพื่อเริ่มต้นการแข่ง เมื่อจบการแข่งขันแล้วค่อยขับจาก SS ไปยังบิบแวคอีกที่ ซึ่งเส้นทางก่อนการแข่ง SS และหลังการแข่ง SS จะเรียกว่า "ลีเอซอง" ช่วงลีเอซองจะถูกจำหนดเวลาจำกัดไว้ (มีบทลงโทษ) แต่ก็ไม่ถือว่าเข้มข้นอะไรมาก

Loop stage (ลูป-สเตจ)

ลูปสเตจ คือ เส้นทางแข่งที่เริ่มจากบิบแวค (ค่ายพักแรม) หนึ่งและจบที่ค่าบพักแรมเดิม เพื่อให้แน่ใจว่าผู้เข้าร่วมแข่งขันได้ทำการแข่งตามที่ผู้จัดกำหนด บทลงโทษสำหรับการไม่ผ่านจุด Checkpoint ในด่านนี้จะสูงเป็นพิเศษ แต่ในขณะเดียวกันทีมช่วยเหลือก็จะอยู่ที่บิบแวคเดิม และได้พักผ่อนมากกว่าปกติ

Marathon Stage (มาราทอน-สเตจ)

มาราทอนสเตจ คือ การแข่งขันต่อเนื่องถึง 2 วัน ซึ่งจะไม่มีรถช่วยเหลือ ด่านนี้มีเพื่อให้เกิดความเท่าเทียมระหว่างทีมที่มีผู้สนับสนุนทุนรายใหญ่ กับ ทีมที่ไม่มีผู้สนับสนุนทุน แต่ทว่าผู้เข้าแข่งขันสามารถช่วยเหลือกันเองได้ ซึ่งทีมที่มีผู้สนับสนุนยังคงได้เปรียบอยู่ โดยในปี 2005 ทางผู้จัดการแข่งได้จัด ซุปเปอร์มาราทอนสเตจ (Super Marathon Stage) ขึ้นมา ซึ่งจะลงโทษรถโดย Parc-Femes (การลงโทษโดยการสั่งให้จอด โดยไม่สามารถเข้าไปปรับแต่งรถได้ ยกเว้น การซ่อมบำรุงเบื้องต้น เช่น ดูแลเรื่องยาง, เติมน้ำมัน ไม่สามารถปรับแก้ หรือซ่อมอะไรใหญ่ๆได้ ทำให้เสียเวลาไป)

Neutral Zone (นิวทรอล-โซน)

นิวทรอลโซน คือ ส่วนของการแข่งระหว่าง SS (Special Stages) ในกรณีการแข่งถูกแบ่งเป็นหลายช่วงในหนึ่ง SS ซึ่งรถแข่งจะไม่ถูกจับเวลาในนิวทรอลโซน และจะเดินทางเหมือนตอนช่วง Liason (ลีเอซอง) แต่จะไม่สามารถได้รับการช่วยเหลือได้เนื่องจากเวลาจะถูกจำกัด

Parc-Fermes

The term Parc-Fermes refers to temporary holding of a race vehicle by the rally organizers, and also to the place where vehicles are held. Neither racers nor mechanics are allowed to touch vehicles once they are stored in the Parc-Fermes. Random checks are also conducted here to determine whether any of the race cars are in violation of regulations.

Penalties (เพ-นอล-ตี้)

Penalties หรือ บทลงโทษ - ในกฏการแข่งขันมีบทลงโทษอยู่หลายรูปแบบ ส่วนมากจะเป็นการเพิ่มเวลาให้กับ SS และ บทลงโทษสำหรับไม่ผ่านจุด Check Point อาจจะโดนเพิ่มว่าเป็นชั่วโมงไปในการแข่ง โทษปรับร้ายแรงอาจจะโดนปรับเป็นตัวเงิน หรือ อาจโดนตัดสิทธิจากจากแข่งขันได้

Piste

French for “track” or “rut.” Going off-piste refers to the act of leaving these traveled roads or going off-road.

Podium (โพ-เดี้ยม)

This refers to the podium where teams are recognized for their performance. At the climax of the Dakar Rally, the Finale Event, prize winners as well as finishing contestants are invited to the podium to be recognized. Contestants are not officially recognized as having finished the rally until they pass the podium, so any race car that becomes immobile while making its way to the podium is disqualified. While it usually takes well over 10 hours for all contestants to pass the podium, passionate South American fans at the podium continue to share their excitement with the racers until the last car arrives.

Quick Assistance

Quick Assistance vehicles are support vehicles that are permitted to enter the race class during an SS when a race vehicle is experiencing mechanical problems. The top corporate teams use highly maneuverable four-wheel drive vehicles backed by trucks carrying spare parts. Assistance trucks are not allowed to support race vehicles in an SS, but they are allowed to do so if they are traveling on the same liaison route as the race vehicle.

SS

SS is short for Special Stage, also known as Selective Sector. Each SS is like a time trial. The race results are based on the sum total of the various SS times, minus penalties where applicable. The fastest vehicle is the winner.

Stage

A stage, also known as an etape, is the schedule for a single day of the Dakar Rally. Normally, a stage consists of liaison sections and the SS. A typical stage includes a liaison section from the bivouac to the SS start point, then the SS itself, followed by liaison to the next bivouac. In remote parts with few villages, the SS may take up the entire day.

Waypoints

Waypoints are points that contestants are required to pass in addition to checkpoints. These are part of a set of controls set up by the organizers primarily for the purpose of keeping contestants out of the way of hazards. When a race car approaches a waypoint, the GPS monitor starts up and displays the direction and distance to the point. There are two types of waypoints: a hidden waypoint (WPM, or “waypoint mask”) and a waypoint safety (WPS). With a WPM, the GPS starts up when a race vehicle comes within 800m of the point, and registers the vehicle as having “passed” when it comes within a 200m radius of the point. With a WPS, to keep contestants out of the way of hazards, the GPS starts up at a 3km radius of the point, and registers a vehicle as having “passed” when it comes within 90m of the point. Contestants must pass all waypoints, of which there are usually 40 to 50 per day.

Road book (โร๊ด-บุ๊ค)

โร๊ดบุ๊ค คือ คู่มือที่จะบอกเส้นทางในวันถัดไป ซึ่งจะเป็นรูปแบบคร่าวๆ เรียกว่า เซลล์แมพ (Cell Map) ผู้ลงแข่งจะต้องศึกษา และดูเส้นทางตามอย่างเคร่งครัดก่อนการแข่ง แต่ทว่าเส้นทางในโร๊ดบุ๊คนั้นจะบอกเพียงจุดมุ่งหมายและระยะเท่านั้น การดูเส้นทางถือว่าเป็นงานที่ยากและต้องใช้ความชำนาญอย่างมาก ซึ่งความสามารถในการนำทางถือเป็นความสามารถที่สำคัญมากในการแข่งขันดาการ์