โรคที่ " ไม่แนะนำให้ทานแคลเซียม " รู้ก่อน ไม่อันตราย แพ้ Calcium ทำไงดี

โรคที่ " ไม่แนะนำให้ทานแคลเซียม " รู้ก่อน ไม่อันตราย แพ้ Calcium ทำไงดี


โรคที่ไม่แนะนำให้ทานแคลเซียม รู้ก่อน ไม่อันตราย แพ้ Calcium ทำไงดี แคลเซียม เสริมอาหาร จัดอยู่ในกลุ่มของ Vitamin และแร่ธาตุ ที่จำเป็น มีส่วนในการช่วยเสริมสร้าง Calcium ในร่างกายให้อยู่ในระดับที่พอดี ซึ่งยังช่วยเสริมสร้างกระดูก และให้ห่างไกลโรคกระดูกพรุน กระดูกเปราะบาง - โรคที่ไม่แนะนำให้ทานแคลเซียม


สาวๆที่ควรปรึกษาแพทย์ ก่อนรับประทานแคลเซียมเสริมอาหาร เพราะอาจเกิดอันตรายจากการกินแคลเซียมได้

- ผู้ที่มีภาวะไตพกพร่อง มี Calcium สูงในปัสสาวะ (อาการไม่รุนแรง)

- คุณแม่ที่กำลังตั้งครรภ์ ให้นมบุตร

- ไม่แนะนำให้สาวๆทำการทาน Calcium พร้อมกับ ยาคุมกำเนินที่มีเอสโตรเจน แอลกอฮอล์ หรือเครื่องดื่ม ที่มีส่วนประกอบของยาฆ่าเชื้อ ยาขับปัสสาวะ ยาโซเดียมฟลูออไรด์ ยากลุ่มบิสฟอสโฟเนต


4 โรคที่ไม่แนะนำให้ทาน Calcium

1 ผู้ที่มีภาวะไตบกพร่องอาการรุนแรง (ที่ไม่ได้ล้างไต)

2 ห้ามใช้กับผู้ที่มีแคลเซียม ในเลือดสูง เนื่องจากเกิดภาวะต่อมพาราไทรอยด์ทำงานเกิน มี VitaminD เกิน โรคมะเร็ง โรคไขกระดูก หรือโรคซาร์คอยด์

3 มีแคลเซียมสูงในปัสาวะ

4 ผู้ที่มีอาการแพ้แคลเซียม


10 อาการแพ้แคลเซียม ที่ควรหยุดทาน 

1 หากแพ้ Calcium มีอาการลมพิษ

2 Calcium ผิวหนังหลุดลอก

3 มีอาการแน่นหน้าอก

4 หายใจลำบาก

5 มีจ้ำเลือดตามผิวหนัง เปลือกตา

6 บริเวณริมฝีปาก 

7 ผิวมีตุ่มพอง

8 ใบหน้าบวม

9 หน้ามีผื่นแดง

10 หรือสาวๆที่มีอาการที่รุนแรง ควรให้หยุดทานผลิตภัณฑ์ Calcium และรีบไปพบแพทย์ในทันทีที่พบ


5 อาการแพ้แคลเซียม ที่ไม่จำเป็นต้องหยุดทาน แต่หากมีอาการที่รุนแรงมาก ควรพบแพทย์ทันที

1 แพ้แคลเซียม อาจมีอาการท้องอืด

2 ท้องผูก

3 ท้องเสีย

4 ปวดท้อง

5 คลื่นไส้ วิงเวียน


วิธีการเก็บรักษา Calcium ไม่ให้เกิดอันตรายกับทั้ง ผู้ทาน และตัวแคลเซียมเสริมอาหารเอง

- ควรนำ แคลเซียม วางไว้ใน อุณภูมิห้องที่ไม่เกิน 30 องศา

- เก็บให้พ้นมือเด็กเล็ก

- เก็บ พร้อมปิด ผลิตภัณฑ์ Calcium ให้มิดชิดแบบเดิม

- ไม่นำ Calcium ใส่ตู้เย็น หรือพื้นที่มีความชื้น


แพ้ Calcium ทำไงดี

หากมี อาการแพ้ Calcium อย่างรุนแรง ควรรีบปรึกษาแพทย์โดยทันที