บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกันภัย

ความหมายการประกันภัย

มีนักวิชาการจ านวนมากได้ให้นิยามความหมายของค าว่า การประกันภัย โดยขอยกมากล่าวเป็นตัวอย่าง ดังต่อไปนี้ เอกราช หนูแก้ว (2548 : 365) ได้ให้ความหมายของการประกันภัยว่า หมายถึง วิธีการเฉลี่ยความ เสียหาย หรือการกระจายความเสี่ยงที่เกิดขึ้นแก่บุคคลหนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่ง เพื่อเป็นการบรรเทาความ เดือดร้อนของผู้ประสบเคราะห์ภัยให้พ้นจากความเสียหาย วิธีการก็คือ สมาชิกทุกคนที่ประสงค์จะเข้าร่วม โครงการจะต้องจ่ายเงินจ านวนคนละเล็กคนละน้อยที่เรียกกันว่า เบี้ยประภัย ให้กับกองทุนกลาง และเมื่อ สมาชิกคนใดคนหนึ่งประสบเคราะห์ภัยก็จะได้รับชดใช้จากกองทุนนั้น โดยมีบริษัทประกันภัยท าหน้าที่เป็นคน กลางคอยเฉลี่ยความเสียหายให้ ความหมายการประกันภัย จารุพร ไวยนันท์(2552 : 43) ได้ให้ความหมายของการประกันภัยว่าความหมายของการประกันภัย อาจแบ่งได้เป็น 3 ความหมายกว้าง ๆ ดังนี้ 1. การร่วมเฉลี่ยความเสียหาย (Risk Sharing) การประกันภัย หมายถึง สถาบันทางเศรษฐกิจและสังคม ที่ท าหน้าที่ในการลดภาวะความเสี่ยง (Reduces Risk) โดยการรวบรวมบุคคลที่ต้องเผชิญลักษณะของภัยที่มี ลักษณะเหมือนหรือคล้ายกันมาร่วมกันเฉลี่ยความเสี่ยง (Risk Sharing) ผ่านวิธีการประกันภัย โดยที่ภัยดังกล่าว จะต้องเป็นภัยที่สามารถคาดคะเนตามหลักคณิตศาสตร์ไว้ล่วงหน้า จากความหมายดังกล่าว จะเห็นว่า การประกันภัยมีผู้รับประกันท าหน้าที่เป็นคนกลางในการรวบรวม เบี้ยประกันภัยจากผู้เอาประกันภัยจ านวนมากมารวมไว้เป็นเงินกองกลาง และเมื่อเกิดความเสียหายขึ้นแก่ผู้เอา ประกันภัยรายใด ผู้รับประกันจะน าเงินกองกลางนั้นจ่ายชดใช้ให้ผู้เอาประกันภัยที่ได้รับความเดือดร้อน ดังนั้น จึงเห็นว่าผู้รับประกันภัยมิใช่ผู้รับความเสี่ยงแทนผู้เอาประกันภัย แต่ผู้เอาประกันภัยด้วยกันเองเป็นผู้ร่วม บรรเทาความเสียหายที่เกิดขึ้นโดยการร่วมเฉลี่ยความเสี่ยงภัย โดยมีผู้รับประกันภัยท าหน้าที่เป็นคนกลางในการ รวบรวมและจัดสรรเงินดังกล่าว ความหมายการประกันภัย 2. เป็นสัญญาระหว่างผู้รับประกันภัยและผู้เอาประกันภัย การประกันภัย ระหว่างบุคคลทั้งสองฝ่าย จึง หมายถึง สัญญา (Contract) ระหว่างผู้รับประกันภัยและผู้เอาประกันภัย ตามกฎหมายระหว่างฝ่ายหนึ่งสัญญา ว่าจะจ่ายค่าสินไหมทดแทน หากเกิดความเสียหายขึ้นกับบุคคลอีกฝ่ายหนึ่ง ซึ่งเรียกว่า “ผู้เอาประกันภัย” โดย ผู้เอาประกันภัยสัญญาว่าจะจ่ายเงินจ านวนหนึ่งซึ่งเรียกว่า “เบี้ยประกันภัย” เป็นค่าคุ้มครอง (Protection) ความเสียหายที่จะเกิดขึ้นในอนาคตให้แก่ผู้เอาประกันภัย จากความหมายดังกล่าว การประกันภัยจึงเป็นสัญญาระหว่างบุคคล 2 ฝ่าย ฝ่ายหนึ่งคือ ผู้รับ ประกันภัย (Insurer) เป็นฝ่ายที่ตกลงจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทน หรือชดใช้เงินจ านวนหนึ่งให้แก่คู่สัญญาเมื่อ เกิดภัยขึ้น ส่วนอีกฝ่ายหนึ่ง คือ ผู้เอาประกันภัย (Insured) เป็นฝ่ายตกลงที่จะจ่ายค่าเบี้ยประกันภัยให้แก่ผู้รับ ประกันภัย เพื่อซื้อความคุ้มครองความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น ความหมายการประกันภัย 3. เป็นสถาบันทางการเงิน สถาบันประกันชีวิตถือเป็นสถาบันทางการเงิน ประเภทหนึ่งที่ท าหน้าที่ระดม เงินออมระยะยาวในรูปของเบี้ยประกัน โดยน าค่าเบี้ยประกันชีวิตหรือเบี้ยประกันภัยที่ได้รับล่วงหน้าไปลงทุนหา ผลประโยชน์ในตลาดเงินต่อไป เมธา สุพงษ์(2554 : 9) ได้ให้ความหมายของประกันภัยไว้ว่า หมายถึง การที่บุคคลฝ่ายหนึ่ง ท าหน้าที่ เป็นหลักประกันแก่บุคคลอีกฝ่ายหนึ่ง โดยสัญญาว่าเค้าจะไม่ต้องรับความเดือนร้อนจากภัยที่อาจเกิดขึ้นใน อนาคต ซึ่งก่อให้เกิดความสูญเสียหรือเสียหายแก่ชีวิตหรือทรัพย์สินของเขา โดยฝ่ายผู้ให้หลักประกันจะจ่ายให้ ชดใช้ให้ตามจ านวนและเงื่อนไขที่ตกลงกันไว้หรืออาจท าให้ทรัพย์สินที่เอาประกันภัยไว้นั้นกลับสู่สภาพดี หรือ ใกล้เคียงของเดิม โดยผู้ให้หลักประกันจะได้รับเงินตอบแทนจากอีกฝ่ายหนึ่งตามจ านวนที่ตกลงกันไว้ ความหมายการประกันภัย Crane (1984 : 9) ให้ความหมายของการประกันภัยไว้ว่า หมายถึง ระบบการจัดการความเสี่ยงภัยโดย รวบรวมความสูญเสียที่เกิดขึ้นทั้งหลาย โดยค่าของความสูญเสียจะมาเฉลี่ยกันไปในระหว่างผู้เข้าร่วมความเสี่ยง ทั้งหมด Dorfman (1991 : 2) ให้ความหมายของการประกันภัยไว้ว่า หมายถึง เป็นการจัดการทางการเงิน ซึ่ง จะแจกจ่ายค่าของความสูญเสียที่ไม่ได้คาดหวังไว้อีกครั้งหนึ่ง การประกันภัยจะเกี่ยวข้องกับการโอนความ สูญเสียต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นมาไว้กองทุน ซึ่งเงินกองทุนนี้จะเฉลี่ยให้กับสมาชิกคนใดคนหนึ่งที่ประสบความสูญเสียที่ เกิดขึ้นนั้น ตามประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ มาตรา 861 บัญญัติว่า อันว่าสัญญาประกันภัยนั้น คือ สัญญา ซึ่งบุคคลหนึ่งตกลงจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทน หรือใช้เงินจ านวนหนึ่งให้ในกรณีวินาศภัยหากมีขึ้น หรือในเหตุ อย่างอื่นในอนาคต ดังได้ระบุไว้ในสัญญาและในการนี้บุคคลอีกคนหนึ่งตกลงจะส่งเงิน ซึ่งเรียกว่า “เบี้ยประกัน” (พรศิริแสงสุวรรณ, 2549) ความหมายการประกันภัย จากความหมายดังกล่าวข้างต้นสามารถสรุปได้ว่า การประกันภัย หมายถึง การสัญญาว่าถ้าภัยเกิดขึ้นและมี ความเสียหายเกิดขึ้นด้วยนั้น ผู้เอาประกันไม่ต้องเผชิญหรือรับภาระความเสียหายแต่เพียงผู้เดียว ผู้รับประกันจะ ชดใช้ค่าเสียหายให้ตามสัญญาประกันภัยที่ได้ท ากันไว้ ตัวอย่าง นายมงคล ท าประกันภัยรถยนต์ไว้ ซึ่งไม่ได้หมายความว่ารถยนต์ของนายมงคล จะไม่เกิดอุบัติเหตุหรือ ความเสียหาย การท าประกันภัยรถยนต์ของนายมงคล เป็นหลักประกันว่าหากรถยนต์ของนายมงคล ประสบ อุบัติเหตุเกิดความเสียหายตามเงื่อนไขที่ตกลงตามสัญญาประกันภัยเมื่อใด นายมงคลไม่ต้องเป็นผู้รับภาระความ เสียหายที่เกิดขึ้นนั้นแต่เพียงผู้เดียว ผู้รับประกันภัยจะเข้ามาชดใช้ค่าเสียหายที่เกิดขึ้น สาระส าคัญของการประกันภัย การประกันภัย มีการจัดท าขึ้นในลักษณะของสัญญาประกันภัย เป็นการตกลงร่วมกันระหว่างของบุคคล 2 ฝ่าย คือ ผู้รับประกัน (บริษัทประกันภัย) กับผู้เอาประกันภัย (ลูกค้า) โดยการออกเอกสารสัญญาซึ่งผู้รับ ประกันภัยตกลงว่าจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้หากเกิดภัยอันตรายแก่คู่สัญญา เรียกว่า ผู้เอาประกันภัย โดยผู้ เอาประกันภัยมีหน้าที่ช าระเงินจ านวนหนึ่งให้แก่ผู้รับประกันภัยตามระยะเวลาที่ได้ตกลงร่วมกัน เงินที่ผู้เอา ประกันช าระแก่ผู้รับประกันภัย เรียกว่า เบี้ยประกันภัย แสดงข้อตกลงของสัญญาให้ไว้เป็นหลักฐาน เอกสาร สัญญาจะต้องมีเนื้อความที่มีการตกลงท าสัญญากันไว้ เอกอสารนี้เรียกว่า กรมธรรม์ประกันภัย การประกันภัยในประเทศไทยแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. การประกันชีวิต (Life Insurance) 2. การประกันวินาศภัย (Non-Life Insurance) ในทางวิชาการมักจะแบ่งการประกันภัยออกเป็น 3 ประเภท คือ การประกันภัยบุคคล การประกัน ทรัพย์สิน และการประกันภัยความรับผิด สามารถอธิบายเป็นแผนภูมิได้ ดังต่อไปนี้ สาระส าคัญของการประกันภัย - ประกันชีวิต - ประกันอุบัติเหตุ - ประกันสุขภาพ การประกันภัยบุคคล การประกันทรัพย์สิน การประกันภัยความรับผิด การประกันภัย - ประกันอัคคีภัย - ประกันภัยทางทะเลและ ขนส่ง - ประกันภัยรถยนต์ - ประกันภัยเบ็ดเตล็ด - ความรับผิดส่วน บุคคล - ความรับผิดของผู้ ประกอบอาชีพต่าง ๆ - ความรับผิดจากการ ประกอบธุรกิจ

วัตถุประสงค์ของการประกันภัย

1 วัตถุประสงค์ของการประกันวินาศภัย

2 วัตถุประสงค์ของการประกันชีวิต วัตถุประสงค์ของการประกันภัย คือ เพื่อแบ่งเบาความเสี่ยงจากบุคคล กลุ่มบุคคล หรือทรัพย์สินนั้น ๆ ออกเป็น ส่วน โดยร่วมกันชดเชย เมื่อมีความสูญเสียหรือเสียหายเกิดขึ้นโดยยึดหลักสุจริตเป็นส าคัญ และการท าประกันภัยมิใช่ วัตถุประสงค์ของการประกันภัย วัตถุประสงค์ของการการประกันวินาศภัย 1. เป็นการกระจายความสูญเสียที่อาจจะเกิดขึ้นกับทรัพย์ของบุคคลใดบุคคลหนึ่งไปสู่คนกลางจ านวน มากอย่างเป็นธรรม โดยที่มีบริษัทประกันภัยเป็นแกนกลาง ซึ่งอาศัยข้อมูลที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าและท า เสนอแนะให้กับผู้เอาประกันภัย เพื่อปรับปรุงสภาวะความเสี่ยงภัยให้น้อยลงเป็นการลดความเสียหายที่อาจจะ เกิดขึ้น 2. ก่อให้เกิดสันติสุขแก่บุคคล เพราะมนุษย์ทุกคนย่อมต้องการความมั่นคงแน่นอนในอนาคต 3. เป็นการระดมทุนในการพัฒนาธุรกิจและน าไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศในแง่ธุรกิจ 4. เพื่อให้เกิดเสถียรภาพในการประกอบธุรกิจ ธุรกิจประกันวินาศภัยยังเสริมสร้างความมั่นใจให้แก่ผู้ ประกอบธุรกิจและขยายการลงทุน ท าให้เกิดเสถียรภาพในระบบเศรษฐกิจโดยส่วนรวม วัตถุประสงค์ของการประกันภัย วัตถุประสงค์ของการการประกันชีวิต การประกันชีวิตเป็นส่วนหนึ่งของการประกันภัย โดยผู้เอาประกันภัยหรือผู้เอาประกันชีวิตจะได้รับ เงินจ านวนหนึ่งหากมีภัยเกิดขึ้นกับชีวิตที่เอาประกันภัยหรือเพราะเจ็บไข้ได้ป่วยหรืออุบัติเหตุ การประกันชีวิต มีวัตถุประสงค์เพื่อให้มนุษย์สามารถด ารงรักษาความต้องการของตนให้อยู่ตลอดกาลโดยปราศจากภยันตรายที่ จะมาเบียดเบียน มนุษย์คงจะมีอายุยืนยาว แต่ในสภาพความเป็นจริงตลอดเวลามนุษย์ต้องเผชิญต่อความเสี่ยง ภัยหลาย ๆ รูปแบบ ซึ่งไม่สามารถหลีกเลี่ยงให้พ้นหมดทุกอย่างได้ จึงท าให้อายุขัยของมนุษย์สั้นลง เกิดทุพพล ภาพอันเป็นรากฐานที่ท าให้ฐานะทางเศรษฐกิจเสื่อมโทรมหรือหมดสิ้นอย่างถาวร กรณีเสียชีวิตก่อนถึงเวลาอันสมควรด้วยเหตุนี้เองมนุษย์จึงคิดวิธีการที่จะธ ารงรักษาความต้องการให้ มากที่สุดเท่าที่จะท าได้ และวิธีการที่ดีที่สุดอันหนึ่ง คือ วิธีการประกันชีวิต ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่าวัตถุประสงค์ ของการประกันชีวิตก็คือ การประกันการสูญเสียทางเศรษฐกิจของมนุษย์อันอาจจะเกิดขึ้นจากภยันตรายของ การมรณกรรมก่อนก่อนก าหนดความชราภาพ การเจ็บไข้ได้ป่วยและอุบัติเหตุ ประโยชน์ของการประกันภัย 1. ประโยชน์ต่อผู้ เอาประกันภัย 2. ประโยชน์ต่อ ธุรกิจ 3. ประโยชน์ต่อ เศรษฐกิจและ สังคม ประโยชน์ของการประกันภัย ประโยชน์ต่อผู้เอาประกันภัย 1. การประกันภัยเป็นการมุ่งให้ความคุ้มครองต่อบุคคล ครอบครัวและทรัพย์สินของผู้เอาประกันภัย เช่น กรณี ประกันชีวิต เมื่อผู้เอาประกันภัยเสียชีวิต ทายาทหรือผู้รับผลประโยชน์จะได้รับเงินชดเชยเป็นเงินจ านวนหนึ่ง ถ้าผู้เอาประกันภัยท าประกันอุบัติเหตุควบคู่ไปกับการประกันชีวิตด้วย หากผู้เอาประกันภัยประสบอุบัติเหตุจน ทุพพลภาพถาวร ก็ได้รับเงินชดเชยจ านวนหนึ่ง ซึ่งผู้รับประกันภัยจะจ่ายให้ส าหรับเป็นค่ารักษาพยาบาลและเป็น ค่าเลี้ยงชีพ บรรเทาความเดือดร้อนจากภัยที่ได้รับ ท าให้ไม่ต้องเป็นภาระแก่ผู้อื่น 2. เป็นการปลูกฝังให้เกิดการออมไปในตัว เนื่องจากต้องเก็บเงินจ านวนหนึ่งไว้ช าระค่าเบี้ยประกันภัยให้ได้ตาม จ านวนที่ได้ตกลงไว้กับผู้รับประกันภัยและต้องช าระให้ทันภายในก าหนดเวลา การออมท าให้มีเงินไว้ใช้ยาม ฉุกเฉิน ยามชรา 3. สามารถน าค่าเบี้ยประกันชีวิตไปลดหย่อนภาษีได้ ประโยชน์ของการประกันภัย ประโยชน์ต่อธุรกิจ 1. ก่อให้เกิดความมั่นคงในการประกอบธุรกิจในกรณีที่เกิดความเสียหายขึ้น ไม่ว่าจะเกิดกับทรัพย์สิน หรือชีวิต ของเจ้าของกิจการ 2. เพิ่มประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจ เนื่องจากในการด าเนินธุรกิจไม่ว่าจะขนาดใหญ่หรือเล็ก ธุรกิจย่อม ด าเนินอยู่บนความเสี่ยง ผู้บริหารที่ดีควรตระหนักถึงความเสี่ยงในการด าเนินธุรกิจ หากมีการกระจายความเสี่ยง ไปให้ผู้รับประกันภัยช่วยรับภาระให้ ก็จะท าให้การตัดสินใจในการด าเนินธุรกิจของผู้บริหารสามารถเป็นไปได้ อย่างรวดเร็ว และก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการด าเนินงาน 3. เกิดเสถียรภาพด้านต้นทุนการผลิต นักธุรกิจที่ก าลังเผชิญกับความเสี่ยงภัยย่อมต้องหาวิธีการในการจัดการกับ ความเสี่ยงภัย โดยอาจใช้วิธีการโอนความเสี่ยงภัยไปให้บริษัทประกันภัยโดยยอมช าระเบี้ยประกันภัยจ านวนหนึ่ง ตามระยะเวลาที่ตกลงกันไว้ 4. ช่วยส่งเสริมธุรกิจบางประเภทให้เจริญก้าวหน้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับความเสี่ยงภัยมาก ๆ ประโยชน์ของการประกันภัย ประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคม 1. เป็นการระดมทุนเพื่อน ามาใช้ในระบบเศรษฐกิจของประเทศ เนื่องจากผู้รับประกันภัยจะได้รับเงินจ านวนหนึ่ง จากผู้เอาประกันภัย ส าหรับสะสมไว้เป็นเงินชดเชยกรณีผู้เอาประกันภัยประสบภัยอันตราย โดยผู้รับประกันภัย จะน าเงินเหล่านั้นไปลงทุนกับแหล่งเงินอื่น เพื่อให้ได้ดอกผลกลับคืนมา วิธีดังกล่าวช่วยให้มีเงินหมุนเวียนใน ระบบเศรษฐกิจของประเทศ 2. ช่วยลดภาระแก่สังคมและลดภาระค่าใช้จ่ายด้านสวัสดิการสงเคราะห์จากภาครัฐ เนื่องจากการประกันภัยท า ให้บุคคลมีความรับผิดชอบต่อตนเองในการออมเงิน และหากผู้เอาประกันภัยได้รับความเสียหายจากการประสบ ภัยอันตราย ผู้รับประกันภัยจะเป็นผู้ดูแลรักษาพยาบาลและค่าครองชีพระหว่างการรักษาพยาบาล 3. เป็นการสร้างความมั่นคงในการด ารงชีวิตของบุคคลและการด าเนินงานของภาคธุรกิจด้วยปัจจัยเสี่ยง องค์กรที่เกี่ยวข้องกับการประกันภัย เป็นหน่วยงานของรัฐ ท าหน้าที่ดูแล ก ากับ ควบคุม ส่งเสริม บริษัทประกันภัย กรมการประกันภัย เป็นองค์กรหนึ่งที่ เกี่ยวข้องกับผลการ ปฏิบัติงานของธุรกิจ ประกันภัย จัดตั้งขึ้นเพื่อประโยชน์ ของรัฐและธุรกิจ ประกันภัย มุ่งส่งเสริม กิจการประกันชีวิตให้เกิด ความมั่นคง รวมทั้งคอย ดูแลให้ด าเนินไปตาม กฎหมายอย่างเคร่งครัด สมาคมประกันชีวิตไทย สมาคมประกันวินาศภัย สถาบันประกันภัยไทย เริ่มขึ้นก่อนในทวีปยุโรป และส าหรับในประเทศ ไทยเริ่มจากการ ประกันภัยทางทะเลใน รัชกาลที่ 5 ค าศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการประกันภัย ผู้รับ ช่วงทรัพย์ที่ เอา ประกันภัย ผู้รับโอน ทรัพย์ที่เอา ประกันภัย ผู้รับ ประกันภัย ผู้เอา ประกันภัย บุคคลซึ่งรับโอนสิทธิที่ ผู้เอาประกันภัยพึงได้ ตามสัญญาประกันภัย ผู้รับจ านอง ผู้รับจ าน า หรือผู้ทรง บุริมสิทธิในทรัพย์ที่เอาประกันภัย ที่มีสิทธิได้รับเงินค่าสินไหม ทดแทนที่ผู้รับประกันภัยจะจ่าย ให้แก่ผู้เอาประกันภัย บุคคลธรรมดา หรือนิติ บุคคล ที่ได้รับความ คุ้มครองตามกรมธรรม์ ประกันภัย บุคคลธรรมดา หรือนิติ บุคคล ซึ่งท าการรับ ประกันภัย ค าศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการประกันภัย การสลัก หลัง กรมธรรม์ ทุน ประกันภัย กรมธรรม์ ประกันภัย เบี้ย ประกันภัย จ านวนเงินที่ผู้รับ ประกันภัยจะต้องจ่าย ตามเงื่อนไขที่ได้ระบุไว้ ในกรมธรรม์ ข้อความที่เขียนเป็น ลายลักษณ์อักษรใน กรมธรรม์ประกันภัย เพิ่มเติมจากข้อความ ปกติ จ านวนเงินที่ผู้เอา ประกันจะต้องช าระ ให้แก่ผู้รับประกันตาม เงื่อนไขที่ตกลงไว้ใน สัญญา เอกสารที่แสดง ข้อตกลงและเงื่อนไข ต่าง ๆ ของสัญญา ระหว่างผู้เอา ประกันภัยและผู้รับ ประกันภัย ค าศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการประกันภัย การ พิจารณารับ ประกันภัย ผู้พิจารณา รับ ประกันภัย การชดใช้ค่า สินไหม ทดแทน การ เรียกร้องค่า สินไหม ทดแทน ผู้รับประกันภัยหรือ บุคคลที่ผู้รับประกันภัย มอบหมายให้มีหน้าที่ พิจารณารับประกันภัย แทนผู้รับประกันภัย การพิจารณาเลือกรับ ประกันภัยเมื่อมีผู้มา แสดงความประสงค์ขอ เอาประกันภัย การที่ผู้เอาประกันภัย ได้เรียกร้องให้ผู้รับ ประกันภัยชดใช้ ค่าเสียหายให้ การชดใช้ค่าเสียหาย ตามที่ความเสียเกิดขึ้น จริง ค าศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการประกันภัย นายหน้า ประกันภัย การรับ ประกันภัย ร่วม ตัวแทน ประกันภัย ผู้ชี้ช่องทางหรือ ด าเนินการให้บุคคลท า สัญญาประกันภัยกับ ผู้รับประกันภัย ผู้ที่ผู้รับประกันภัย มอบหมายให้ท าการ ชักชวนบุคคลมาท า สัญญาประกันภัยกับ บริษัท การแบ่งส่วนการรับประกัน ภัยระหว่างผู้รับประกันภัย หลายรายที่มีต่อผู้เอา ประกันภัยรายใดรายหนึ่ง ส่วนใหญ่เป็นกรณีที่มี จ านวนเงินอาประกันภัยสูง Question & Answer


แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 1 1.

ให้นักศึกษาอธิบายความหมายของค าว่า การประกันภัย (Insurance)

2. จงจ าแนกประเภทของการประกันวินาศภัย พร้อมอธิบาย

3. ให้นักศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างการประกันชีวิตและการประกันวินาศภัย 4. บอกประโยชน์ของการประกันภัยที่มีต่อผู้เอาประกันภัย ธุรกิจ สังคม และประเทศ มาอย่างละ 3 ข้อ

5. นายมานะ อายุ 46 ปี ประกอบอาชีพรับจ้าง เป็นพนักงานบริษัทแห่งหนึ่ง รายได้ต่อเดือนประมาณ 10,000 บาท ไม่มีครอบครัว ต้องการมีรายได้หลังเกษียณอายุ นักศึกษาในฐานะผู้เรียนวิชาการประกันภัย จงอธิบายว่า นายมานะควรท าประกันภัยประเภทใด แบบใด พร้อมให้เหตุผลประกอบ

6. หากนักศึกษาเป็นตัวแทนประกันชีวิต หรือเจ้าของของบริษัทประกันภัย นักศึกษามีแนวคิดในการสร้างความ เชื่อมั่นให้แก่ธุรกิจประกันภัยได้อย่างไรบ้าง